จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ทั้งในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมา และสถานการณ์ปัจจุบันที่คลายล็อกมา 4 เฟส แต่ยังไม่น่าไว้วางใจ การช่วยเหลือด้วย "ถุงยังชีพ" ทั้งของหน่วยงานภาครัฐและเอกชนเพื่อบรรเทาทุกข์ขั้นพื้นฐานไปยังพี่น้องประชาชนในพื้นที่ต่างๆ มีให้เห็นกันทั่วไป
ข่าวฮือฮาว่าด้วยรัฐบาลมาเลเซียขยายเวลาปิดประเทศถึง 31 ส.ค.63 เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโควิด-19 งานนี้ไม่ส่งผลดีต่อแรงงานไทยในมาเลย์อย่างแน่นอน
ข้าวสารที่เพื่อนบ้านหยิบยื่นให้ กับกะปิเก่าเก็บ และผักที่ปลูกเอง มีเพียง 3 สิ่งนี้เท่านั้นที่หล่อเลี้ยงสมาชิกครอบครัวสะอิทั้ง 8 คนมานานร่วมเดือน ตั้งแต่ประเทศไทยถูกไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่รุกราน
"เวลาไม่มีอะไรกิน ผมก็ต้องต้มข้าวให้ลูกกิน...ถามว่าอิ่มไหม มันก็ไม่อิ่ม ลูกๆ ก็ถาม แต่เราไม่รู้จะทำอย่างไร ส่วนผมเองถ้าไม่มีก็ไม่กิน"
"หยิบเพียงแต่พอดี หากมีร่วมแบ่งปัน"
สิ่งที่เป็นดั่งสัญลักษณ์ของวันรายอในแง่อาหารการกินและการต้อนรับผู้มาเยือน คือ "ตูป๊ะ" หรือ "ข้าวต้มใบกะพ้อ"
จากดราม่ายายกำเงิน 2 พันซื้อมือถือให้หลานเตรียมเรียนออนไลน์ สะท้อนถึงความไม่พร้อมและความลำบากของหลายๆ ครอบครัวจากนโยบายจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของกระทรวงศึกษาธิการเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ซึ่งก่อนหน้านี้ก็ต้องเลื่อนเปิดเทอมไปเป็นวันที่ 1 ก.ค.63 นั้น
หลังชื่อจังหวัดยะลาเพิ่งจะเงียบหายไปจากข่าวแถลงประจำวันของ ศบค.ที่รายงานผู้ติดเชื้อรายใหม่ ปรากฏว่าตั้งแต่เปิดสัปดาห์นี้เป็นต้นมา ซึ่งเป็นสัปดาห์ที่ 2 ของเดือน พ.ค. กลับมีชื่อของจังหวัดนราธิวาสปรากฏขึ้นแทน
สถานการณ์การรองรับคนไทยที่เดินทางกลับจากมาเลเซียจนถึงวันนี้ มีผู้เดินทางข้ามแดนเข้ามามากเกินกว่าที่คาดการณ์เอาไว้ ทำให้สถานที่กักตัวเพื่อสังเกตอาการในระดับจังหวัดและอำเภอ หรือ Local Quarantine ของนราธิวาส ที่เตรียมไว้ไม่เพียงพอ จนต้องเร่งหาสถานที่กักตัวเพิ่มเติม แต่ก็ยังไม่ทันกับความต้องการ
การป้องกันการรับเชื้อและแพร่เชื้อโควิด-19 ด้วยการสวมหน้ากากอนามัยยังคงมีความสำคัญกับทุกคน ไม่เว้นแม้แต่พระภิกษุสงฆ์