ภายหลังมีหลายกระแสออกมาโจมตี พ.ต.อ.ทวี สอดส่อง รัฐมนตรีกระทรวงยุติธรรม และหัวหน้าพรรคประชาชาติ กรณีพูดทำนองว่าเคยคิดว่าสามจังหวัดชายแดนภาคใต้จะเป็น “เขตปกครองพิเศษ” โดยให้คนพื้นที่ซึ่งส่วนใหญ่เป็นพี่น้องมุสลิมได้ปกครองกันเองหรือไม่ ถึงขั้นที่สมาชิกวุฒิสภา หรือ สว.เตรียมหาช่องทางกฎหมายเพื่อยื่นองค์กรองค์กรอิสระตรวจสอบเพื่อเอาผิด เพราะมองว่าขัดรัฐธรรมนูญมาตรา 1
คุยกันต่อกับ ดร.ซาช่า เฮลบาร์ต (Dr. Sascha Helbardt) นักวิจัยชาวเยอรมัน ซึ่งร่วมวิจัยในโครงการ “แนวความคิดในการต่อต้านความรุนแรงแบบสุดโต่ง กับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทย”
ปัญหาไฟใต้ที่ยืดเยื้อมาถึง 21 ปี ฝ่ายความมั่นคงบอกว่า สถานการณ์ดีขึ้น แต่ก็ยังสร้างสันติสุขไม่สำเร็จ
นักวิชาการธรรมศาสตร์ แนะ นายกฯแพทองธาร ควรเว้นระยะ-ท่าทีการทูตกับ “มิน อ่อง หล่าย” ในวันประชุม BIMSTEC 2 – 4 เม.ย.นี้ เตือนหากเกิดภาพใกล้ชิด อาจถูกตีความยอมรับผู้นำทหารเมียนมา ชี้ควรใช้โอกาสนี้ฟื้นนโยบาย Look West Policy ร่วมกับ “อินเดีย” อีกครั้ง
ไฟใต้...ถูกพูดถึงอีกครั้ง ไม่ใช่แค่เหตุผลเพราะเกิดเหตุรุนแรงขนาดใหญ่ที่อำเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส เท่านั้น
“อนุทิน” ส่งรองอธิบดีกรมการปกครองลงพื้นที่ชายแดนใต้ พร้อมวีดีโอคอนเฟอเรนซ์สั่ง “ผู้ว่าฯ ปลายขวาน” เร่งหาข้อบกพร่อง อุดช่องโหว่ดูแลพื้นที่ช่วงรอมฎอน พร้อมบูรณาการร่วมมือฝ่ายความมั่นคง เชื่อ “คนมหาดไทย” ทั้ง อส. ผู้ใหญ่บ้าน ตกเป็นเป้าหมาย คนร้ายจ้องเล่นงานให้ครบทั้ง 3 จังหวัด ด้านรอง ผบ.ตร.ประชุมสีกากี สั่งทำแผนป้องกันเมืองทั้งรับและรุก
การเกิดเหตุรุนแรงถี่ๆ ช่วงเดือนรอมฎอน ซึ่งรัฐบาลและฝ่ายความมั่นคงกำลังเดินหน้าแคมเปญ ”รอมฎอนสันติ” โดยนำไปผูกโยงกับการเตรียมตั้งคณะพูดคุยเพื่อสันติสุขชุดใหม่ด้วยนั้น
เสียง “ขออภัย” ของอดีตนายกฯทักษิณ ชินวัตร ระหว่างลงพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ในรอบ 20 ปี เมื่อวันอาทิตย์ที่ 23 ก.พ.68 ยังไม่ทันจางหาย
ไม่ว่ารัฐบาลจะชี้แจงอย่างไร เกี่ยวกับการส่งกลับชาวอุยกูร์ 40 คนสู่แผ่นดินจีน
การลงพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของอดีตนายกฯทักษิณ ชินวัตร แม้จะใช้เวลาเพียง 1 วัน คือ วันอาทิตย์ที่ 23 ก.พ.68 แต่ทุกสิ่งที่ได้ทำ เหมือนต้องการลบล้างภาพอดีต และเริ่มนับหนึ่งใหม่ในการแก้ไขปัญหา