ตั้งแต่รัฐบาลอนุมัติให้มีวันหยุดยาว โดยนำวันหยุดสงกรานต์มาชดเชยให้ หลังจากปลดล็อกมาตรการสกัดโควิด เพื่อหวังกระตุ้นเศรษฐกิจจากการท่องเที่ยวภายในประเทศ
เหตุการณ์เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงปิดล้อม-ยิงปะทะกับกลุ่มก่อความไม่สงบ ในพื้นที่บ้านบือแนจือแล หมู่ 2 ต.กอลำ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี ไม่ได้จบลงแค่การเสียชีวิตถึง 7 ศพของสมาชิกกลุ่มติดอาวุธเท่านั้น
พูดถึงสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หลายคนไม่กล้าไปเที่ยว เพราะยังหลอนกับภาพความรุนแรง ทั้งยิงทั้งระเบิด ทั้งที่จริงๆ แล้วดินแดนปลายด้ามขวานเป็นพื้นที่น่าเที่ยว เพราะมีครบทั้งธรรมชาติงดงาม อาหารการกินแสนอร่อย และการคมนาคมที่สะดวกสบายพอสมควร
นอกจากไก่เบตง ผักน้ำ หอนาฬิกา และตู้ไปรษณีย์ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยที่ทำให้ อ.เบตง จ.ยะลา เป็นที่รู้จักของคนไทยทั่วประเทศแล้ว
"ความยากจน" คือภาพชีวิตของผู้คนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ติดตรึงยาวนานยิ่งกว่าสถานการณ์ความไม่สงบเสียอีก
ในขณะที่คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติรอบที่ 3 เกี่ยวกับโครงการเมืองต้นแบบที่ 4 อ.จะนะ จ.สงขลา "เมืองต้นแบบอุตสาหกรรมก้าวหน้าแห่งอนาคต" ในท่วงทำนองของการผลักดันให้เร่งเดินหน้า โดยอ้างอิงจากผลการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน
"เขาร่วมขบวนการจริง เขาหนีออกจากบ้านตั้งแต่ปี 48 สมัยมีเหตุการณ์ใหม่ๆ จากนั้นแม่เขาก็เครียดมากจนป่วยเป็นโรคซึมเศร้า"
ผู้คนจากทั่วสารทิศร่วมบริจาคช่วยเหลือ "คุณยายแมะเอียด" วัย 63 ปีจาก อ.โคกโพธิ์ ปัตตานี หลังสื่อหลายแขนงตีแผ่ชีวิตสุดรันทด ต้องแบกรับภาระเลี้ยงลูกที่ป่วยเป็นโรคแขนขาอ่อนแรง และหลานชายวัยกำลังเรียน ทั้งๆ ที่ครอบครัวมีฐานะยากจน กระท่อมที่อยู่ก็ผุพัง ทั้งบ้านมีเงินแค่ 3 บาท หลานไปโรงเรียนก็ไม่มีเงินให้ไป
กระท่อมหลังเล็กและผุพังใน อ.โคกโพธิ์ จ.ปัตตานี ของยายแมะเอียด สะนิ วัย 63 ปี แทบไม่มีสภาพของการเป็นที่อยู่อาศัยหลงเหลืออยู่เลย...
"ฉันตั้งชื่อลูกไว้แล้วว่า ด.ช.อิรฟาน ทิพยอและ ขอขอบคุณทุกคน ขอบคุณคนไทยที่ไม่ทิ้งกัน"