การเดินทางเยือนไทยของนายกฯ อันวาร์ อิบราฮิม แห่งมาเลเซีย ในวันที่ 17 เม.ย.68 เดิมมีข่าวหลุดจากกระทรวงการต่างประเทศแต่เพียงว่าเป็นการเยือนแบบ working visit แนวๆ เช้าไป-เย็นกลับ แค่วันเดียว
สถานการณ์ของรัฐบาล แพทองธาร ชินวัตร คือ กำลังถูกมรสุมรุมถล่มอย่างไม่ต้องสงสัย
เป็นเรื่องแปลกที่ในยุคนี้ ข่าวดีและโอกาสของประเทศไทย มักแฝงมาด้วย “ข่าวร้าย” จากความเสี่ยงในมิติความมั่นคง
รศ.ดร.ฐิติวุฒิ บุญยวงศ์วิวัชร อาจารย์จากคณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิเคราะห์ถึงสถานการณ์แผ่นดินไหวครั้งร้ายแรงในเมียนมา ซึ่งมีแนวโน้มจะส่งผลทางการเมืองและสงครามกลางเมืองของเมียนมาด้วย รวมถึงบทบาทของอาเซียนที่จะเข้าไปสร้างกระบวนการสันติภาพและลำเลียงความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม
สถานการณ์ที่เรียกขานกันว่า “Diplomatic Shock” หรือ ภาวะช็อกทางการทูตของไทย ซึ่งเป็นผลสะเทือนจากปฏิบัติการส่งกลับอุยกูร์ และรุนแรงอย่างไม่น่าเชื่อนั้น
เหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นรายวัน และเพิ่มดีกรีความร้ายแรงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะในห้วงเดือนสัญลักษณ์อย่าง “รอมฎอน” แม้ไม่ใช่เรื่องใหม่ตามที่รองนายกฯ ภูมิธรรม เวชยชัย ว่าเอาไว้
ไฟใต้ที่ลุกโชนในห้วงเดือนแห่งการถือศีลอด ตอกหน้าแคมเปญ “รอมฎอนสู่สันติสุข” ของรัฐบาลและฝ่ายความมั่นคงไทย… หลายฝ่ายคาดการณ์เชิงฟันธงว่า นี่คือการสร้างแรงกดดันเพื่อเร่งเร้าให้รัฐบาลไทยรีบเปิด “โต๊ะพูดคุย” รอบใหม่ โดยจะมีคำสร้อยห้อยท้ายว่า “สันติภาพ” หรือ “สันติสุข” ก็ไม่ติด เพราะ “โต๊ะพูดคุย” ถูกแช่แข็งมานานข้ามปี หลังมีกระแสคัดค้าน JCPP หรือ แผนปฏิบัติร่วมเพื่อสร้างสันติภาพแบบองค์รวม ซึ่งคณะพูดคุย ...
ปัญหาการตั้งงบประมาณเพื่อทำโครงการก่อสร้างอาคารสถานที่ แต่กลับไม่ได้ถูกใช้งานอย่างเต็มประสิทธิภาพ จนต้องสูญเสียเม็ดเงินจำนวนมากไปอย่างน่าเสียดาย ยังคงเกิดขึ้นหลายโครงการในหลายพื้นที่ของประเทศไทย
อาจารย์กฤษฎา บุญเรือง นักวิชาการอิสระ จากรัฐจอร์เจีย สหรัฐอเมริกา สรุปประเด็นการหารือระหว่าง ประธานาธิบดีโดนัลด์ ทรัมป์ ของสหรัฐ และประธานาธิบดีโวโลดิมีร์ เซเลนสกี ของยูเครน ที่ทำเนียบขาว เมื่อวันศุกร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2025
ประเด็นส่งกลับ “อุยกูร์” 40 ชีวิต กลายเป็นกระแสร้อนรับศึกอภิปรายไม่ไว้วางใจ เพราะเกิดขึ้นวันเดียวกับที่ฝ่ายค้านยื่นซักฟอกพอดี