ผ่านรอมฎอนมาได้เกือบ 1 สัปดาห์ ต้องยอมรับว่ามาตรการป้องกันการแพร่เชื้อโควิด-19 ดำเนินไปอย่างเคร่งครัดตามประกาศของจุฬาราชมนตรี ขณะที่พี่น้องในพื้นที่ชายแดนใต้ก็ให้ความร่วมมือกันมากพอสมควร
วิกฤตโควิด-19 ส่งผลกระทบกับพี่น้องประชาชนทุกกลุ่ม ทุกสาขาอาชีพ ไม่เว้นแม้แต่พี่น้องชาวประมงที่เป็น "ประมงสีขาว" หมายถึงใช้เครื่องมือทำประมงที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างกลุ่มประมงพื้นบ้านตันหยงเปาว์ จ.ปัตตานี ก็ยังโดนหางเลขไปด้วย
เปิดมาตรการเข้มมหาดไทย คุมเปิดด่านรับคนไทยกลับบ้านแบบ "จำกัดจำนวน" ดีเดย์ 18 เม.ย.นี้ ป้องกันล้นศูนย์กักกัน
มาตรการสกัดกั้นการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ที่ใช้การปิดหมู่บ้านซึ่งเป็นพื้นที่แพร่ระบาดนั้น ได้เกิดปัญหาขึ้นในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
"ถึงไม่ออกแถลงการณ์ พวกเขา (BRN) ก็สมควรหยุดทุกการกระทำ แล้วมาช่วยชาวบ้านที่อด ช่วยแรงงานต้มยำมาเลย์ให้รอดพ้นจากมิจชาชีพที่หลอกหากินช่วงที่แรงงานต้มยำกำลังเดือดร้อน"
เว็บไซต์ Pulony.blogspot.com กลับมาเคลื่อนไหวโพสต์บทความในแนวเดิมอีกครั้ง หลังจากหยุดนิ่งไป 20 กว่าวัน นับตั้งแต่ถูก ส.ส.อดีตพรรคอนาคตใหม่ออกมากล่าวหากลางสภาว่าเป็นเว็บที่ทำภารกิจ "ไอโอ" หรือ "ปฏิบัติการข่าวสาร" ให้กองทัพ
ท่ามกลางการทยอยใช้มาตรการ "ชัตดาวน์" ทีละขั้น ทีละกิจการ ทีละสถานที่ เพื่อสกัดการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 มีอยู่เครื่องมือหนึ่งที่ถูกพูดถึงมาสักระยะหนึ่งแล้ว ก็คือการ "ประกาศภาวะฉุกเฉิน" โดยอาศัยอำนาจตามพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า "พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ"
เหตุระเบิด 2 ครั้งซ้อนหน้าศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือ ศอ.บต. อำเภอเมือง จ.ยะลา เมื่อช่วงสายของวันอังคารที่ 17 มี.ค.63 หลายฝ่ายพุ่งเป้าไปที่ปัญหาความไม่สงบในพื้นที่ซึ่งเกิดขึ้นมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน
ท่ามกลางกระแสตื่นกลัวโควิด-19 และการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของมาเลเซีย ปรากฏว่ากระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุข "ดับไฟใต้" ยังคงเดินหน้าต่อไป
ภาพประกอบของเรื่องนี้ (ภาพครึ่งล่าง) คือหน้าเพจ "ซูรอ ปาตานี" (Suara Patani) ล่าสุดเมื่อช่วงเช้าของวันพุธที่ 26 ก.พ.63