"โรงงานเฟอร์นิเจอร์ปัตตานียกเครื่องจักรย้ายฐานหลังถูก ศอ.บต.ลอยแพปีกว่า"
"เด็กๆ เคยไม่ชอบสามจังหวัด และไม่คิดจะมา เพราะเห็นข่าวความรุนแรงตลอด แต่พอโตขึ้นคิดว่าถ้ามีโอกาสเราจะลงมาช่วยชาวบ้าน"
"ที่สู้เพราะต้องการหาความเป็นธรรมให้ตัวเอง เพราะรับไม่ได้กับสิ่งที่เกิดขึ้น เราเป็นคนสอนคนให้เป็นคนดี แต่เขามาใส่ความว่าเราผิด เราไม่ได้ทำธุรกิจ ไม่ได้เอาเงินจากเด็ก ไม่ได้มีเงินสนับสนุนจากไหนเลย สำนักงานการศึกษาต่างหากที่ต้องให้เงินกับเรา...จุดนี้ที่รับไม่ได้"
ในช่วงที่หัวหน้าคณะพูดคุยเพื่อสันติสุขจังหวัดชายแดนภาคใต้ของรัฐบาล กำลังเดินสายพบปะผู้นำศาสนาและผู้นำท้องถิ่น เพื่อร่วมรับฟังข้อเสนอแนะสำหรับเดินหน้ากระบวนการพูดคุยกับผู้เห็นต่างจากรัฐ หลังผ่านวิกฤติโควิด-19 นั้น
เหตุรุนแรงที่ระยะหลังๆ เกิดขึ้นนานๆ ครั้งที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้น เหตุการณ์ล่าสุดเจาะจงเปิดปฏิบัติการเมื่อวันที่ 31 ส.ค.63
ควันหลงหลังเหตุการณ์ปิดล้อม-ยิงปะทะกับกลุ่มก่อความไม่สงบ ในพื้นที่บ้านบือแนจือแล หมู่ 2 ต.กอลำ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี เจ้าหน้าที่ได้เข้าไปเคลียร์พื้นที่อย่างละเอียดอีกรอบ และพบหลุมที่ใช้ซุกซ่อนวัตถุระเบิดตลอดจนเสื้อผ้าและอุปกรณ์ดำรงชีพในป่า จำนวนมากถึง 9 หลุม
มีความคืบหน้าเหตุระเบิดชุด รปภ.ครู 2 จุด ใน อ.หนองจิก จ.ปัตตานี และ อ.ระแงะ จ.นราธิวาส เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 13 ส.ค.63 ทำให้ทหารพรานเสียชีวิตจุดละ 1 นาย
กองทัพภาคที่ 4 เตรียมเสนอรัฐบาลยกเลิกการบังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ 4 อำเภอรวด นำร่องที่ อ.ไม้แก่น ตามด้วย อ.กะพ้อ จ.ปัตตานี อ.กาบัง จ.ยะลา และ อ.แว้ง จ.นราธิวาส เนื่องจากไม่เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบมาเป็นระยะเวลานาน
23 ก.ค.63 เป็นวันแรกของการตรวจเลือกทหารกองเกินเข้าเป็นทหารกองประจำการทั่วประเทศ หรือที่รู้จักกันดีว่า "กิจกรรมการเกณฑ์ทหาร" ซึ่งปีนี้แตกต่างจากทุกปี เนื่องจากเลื่อนมาจากเดือน เม.ย.เพราะสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19
เหตุยิงปะทะเมื่อวันศุกร์ที่ 3 ก.ค.63 ที่บ้านหลังหนึ่งในหมู่บ้านราวอ หมู่ 1 ต.ดอน อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี ไม่ได้จบลงที่การเสียชีวิตของ นายอันวาร์ ดือราแม อายุ 40 ปี ซึ่งมีชื่ออยู่ในบัญชีผู้ก่อเหตุรุนแรงระดับปฏิบัติการเท่านั้น