“รุงรัง, ผิดฝาผิดตัว, เลิกคิดเป็น peace broker”
สถานการณ์ที่ “แม่สอด-เมียวดี” กลายเป็นสปอตไลต์ที่ถูกฉายจับไปทั่วโลก โดยเฉพาะฝ่ายต่างๆ ที่ติดตามสงครามกลางเมืองในเมียนมา ต้องหันมาให้ความสนใจ และเกาะติดอย่างใกล้ชิด
กิจกรรมส่งมอบความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมแก่เมียนมาครั้งแรก ที่ด่านศุลกากรแม่สอด จ.ตาก เมื่อวันจันทร์ที่ 25 มี.ค.ที่ผ่านมา ไม่เพียงเป็นก้าวย่างสำคัญของไทยต่อสถานการณ์ความขัดแย้งและความรุนแรงในเมียนมาเท่านั้น
สถานการณ์การสู้รบในเมียนมากระจายไปทั่วประเทศ และเริ่มมีผู้อพยพหนีภัยสงครามข้ามมายังฝั่งไทยมากขึ้น และไทยเริ่มจัดระบบการให้ความช่วยเหลือด้านมนุษยธรรมอย่างเป็นรูปธรรมมากกว่าที่ผ่านมา
สถานการณ์ด้านความมั่นคงบีบรัดกดดันรัฐบาลไทยภายใต้การนำของ นายกฯเศรษฐา ทวีสิน อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้
พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยจัดเป็น “พื้นที่พิเศษ” อย่างไม่ต้องสงสัย
"...เมื่อกฎหมายคลายล็อกก็เริ่มมีการดำเนินการปลูก และเร่งผลิตให้ได้เร็วที่สุด โดยปลูกต้นแรกที่ถูกต้องตามกฎหมายวันที่ 27 ก.พ. 2562 ปลูกแบบอินดอร์โดยไม่ใช้ดินเลย ไม่นานก็ได้ออกมา ซึ่งครั้งนั้นเรานำเมล็ดเข้ามา เพราะจะได้สารสกัดอะไรมากน้อยจะอยู่ที่สายพันธุ์ เราได้ผลิตภัณฑ์ออกมาสำเร็จ และมอบให้ สธ.เมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2562 โดยยืนยันว่าใช้เฉพาะทางการแพทย์ ไม่มีเพื่อสันทนาการ..."
ยิ่งนานวัน สถานการณ์สงครามกลางเมืองในเมียนมาดูจะทวีความรุนแรงมากขึ้น และพร้อมที่จะยกระดับขึ้นในระยะเวลาอันใกล้นี้
“อาจารย์สุรชาติ” เสนอตั้ง “สถานีด้านมนุษยธรรม” ช่วยเหลือผู้อพยพหนีภัยสงครามเมียนมา พร้อมแนะรัฐบาลไทยเพิ่มบทบาทเป็น Peace Broker เจรจาหยุดการสู้รบเหมือนครั้งในสงครามเขมรสามฝ่าย เหตุภูมิรัฐศาสตร์หนีไม่พ้นต้องรับผลกระทบ หากทำสำเร็จจะเป็นซอฟต์พาวเวอร์ผ่านมิติทางการทูต
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข นักวิชาการด้านความมั่นคง จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขียนบทความอีก 1 ชิ้น ขยายมุมมองที่มีต่อ “กระบวนการสันติภาพ” เพื่อดับไฟใต้