ท่ามกลางข้อถกเถียงว่าควรยุบหรือไม่ควรยุบ กอ.รมน.
การดำรงอยู่ของหน่วยงาน กอ.รมน.ถูกตั้งคำถามในแง่ “ความซ้ำซ้อน” ที่เรียกกันว่า “หน่วยงานรัฐซ้อนรัฐ”
ถือเป็นความจริงที่ปฏิเสธยากว่าสังคมรับรู้ข้อมูลที่แท้จริงของ “เรือดำน้ำไทย” ที่สั่งซื้อจากจีนน้อยมาก เพราะสัญญาจัดซื้อจัดหา เป็นความลับทางความมั่นคง
สงครามระหว่าง “กองกำลังฮามาส” กับ “รัฐชาติอิสราเอล” ยังไม่จบง่าย
อีกแค่ 8 วัน จะมีเรื่องใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้รัฐบาล “นายกฯเศรษฐา” ต้องตัดสินใจ
เช้าตรู่เวลาในท้องถิ่นของอิสราเอล 06.30 น.วันเสาร์ที่ 7 ต.ค.66 กองกำลังฮามาส (Hamas) ชาวปาเลสไตน์ (Palestines) ที่บริหารฉนวนกาซา (Gaza) โจมตีอิสราเอลแบบเซอร์ไพรซ์ครั้งใหญ่ที่สุดในรอบหลายปี
คำว่า “ความมั่นคงด้านการท่องเที่ยว” หรือ Tourism Security ดูจะไม่ค่อยมีใครพูดถึงนักในบ้านเรา
ห้วงนี้คงไม่มีเรื่องไหนร้อนแรงกว่าเรื่องอื้อฉาวในสำนักงานตำรวจแห่งชาติที่ปรากฏเป็นข่าวติดๆ กันเหมือนเป็นปรากฏการณ์ “ฝีแตก”
คลอดระเบียบ “บันทึกภาพ-เสียง” ระหว่างการจับกุม-ควบคุมตัว ตาม พ.ร.บ.อุ้มหาย-ทรมานฯ กำชับทุกหน่วยถือปฏิบัติตามมาตรฐานเดียวกัน เปิดแบบบันทึกข้อมูล ปท.1 สุดละเอียด สั่งเก็บข้อมูล 2 ปีกรณีผู้ถูกควบคุมตัวได้รับอันตราย แต่หากมีร้องเรียนซ้อมทรมาน ต้องเก็บรักษาหลักฐานจนคดีถึงที่สุดหรือขาดอายุความ แต่ยังเปิดช่อง “เหตุสุดวิสัย”
รัฐบาลเดินหน้าสางปม “หนี้ กยศ.” ภายหลังกฎหมายใหม่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือน มี.ค.66 แต่ผู้กู้ และลูกหนี้ กยศ. ยังใช้หนี้ และถูกบังคับคดีตามกฎหมายเก่า รวมไปถึง “ผู้ค้ำประกัน” ด้วย