สองประเด็นที่พูดถึงกันมากหลังเกิดโศกนาฏกรรมกลางเมืองโคราช ก็คือ
โพลล์ กอ.รมน. ระบุ คนชายแดนใต้พึงพอใจนโยบาย "พื้นที่ปลอดเหตุ" ของแม่ทัพภาคที่ 4 ส่วนปัญหาที่อยากให้แก้มากที่สุดคือการแพร่ระบาดของยาเสพติด
ผู้อำนวยการแอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนล ประเทศไทย เสนอรัฐบาล "ลุงตู่" เปิดค่ายทหารให้ตรวจสอบศูนย์ควบคุมตัว พร้อมเร่งผ่านร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการอุ้มฆ่าอุ้มหาย เพื่อแก้ปัญหาการบังคับบุคคลให้สูญหายหลายกรณีในประเทศไทยและชายแดนใต้
ในขณะที่ "นายกฯลุงตู่" นำคณะรัฐมนตรีลงไปร่วมประชุม ครม.สัญจร ครั้งแรกของปี 2563 ที่จังหวัดนราธิวาส ปรากฏว่าอีกด้านหนึ่งมีความคืบหน้าของกระบวนการพูดคุยเพื่อสันติสุขฯ อย่างเป็นทางการพอดิบพอดี
ปฏิบัติการโจมตีทางอากาศของสหรัฐเพื่อสังหาร พลเอก กอเซม สุไลมานี ผู้บัญชาการกองกำลัง "คุดส์" ของอิหร่าน ที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้นำสูงสุดทางทหารลำดับ 2 ของประเทศ ทำให้สถานการณ์ในตะวันออกกลางตึงเครียดขึ้นมาอีกคำรบ
วันที่ 10 ธันวาคม นอกจากจะเป็นวันรัฐธรรมนูญของประเทศไทยแล้ว ยังเป็นวันสิทธิมนุษยชนสากลด้วย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ หรือ กสม. ตั้งคณะทำงานลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงเหตุโจมตีป้อม ชรบ. 15 ศพที่ตำบลลำพะยา จังหวัดยะลา หวังรวบรวมข้อมูลจากทุกฝ่าย จัดทำเป็นข้อเสนอแนะในการป้องกันและแก้ไขปัญหาต่อรัฐบาลภายใน 60 วัน นับเป็นเหตุรุนแรงชายแดนใต้ที่ กสม.ยกขึ้นตรวจสอบโดยไม่ต้องมีผู้ร้องเรียน
แม้จะเป็นที่ชัดเจนแล้วว่า การไปพูดในเวทีของสำนักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ หรือ OHCHR ที่กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ของ นายฮาซัน ยามาดีบุ เป็นการพูดในนาม "ประธานกลุ่มบุหงารายา" ซึ่งเป็นองค์กรภาคประชาสังคมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ไม่ใช่ "ฝ่ายการศึกษาของกลุ่มบีอาร์เอ็น" ตามที่มีการแชร์กันในโลกออนไลน์ก็ตาม
แม้การอภิปรายงบประมาณอย่างดุเดือดกลางสภาจะผ่านพ้นไปแล้ว เพราะร่าง พ.ร.บ.งบประมาณปี 63 กำลังอยู่ระหว่างการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรในวาระ 2 หรือชั้นคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ก็ตาม
เหตุการณ์คนร้ายขี่รถจักรยานยนต์ตามประกบยิงลุงกับป้าเสียชีวิตคาถนนในอำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ 15 มิ.ย.62 ที่ผ่านมา มีความคืบหน้าสำคัญที่นำไปสู่การจับกุมคนร้ายบางส่วนได้ แต่กลับมีการสร้างข่าวโจมตีในโลกออนไลน์ จนฝ่ายความมั่นคงต้องเปิดเวทีชี้แจงถึงที่มัสยิดในหมู่บ้าน