พูดถึงสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หลายคนนึกถึงเหตุการณ์ความรุนแรง โดยเฉพาะระเบิด ซึ่งเกิดมานานเกือบ 17 ปีแล้ว ล่าสุดสถาบันนิติวิทยาศาสตร์เดินหน้าศึกษา พร้อมทำวิจัยหาการปนเปื้อนสารระเบิดจากพื้นที่ปลายด้ามขวานให้เป็นค่ามาตรฐานที่เชื่อถือได้ เพื่อลดการโต้แย้งข้อมูลในชั้นศาล หวังอำนวยความยุติธรรมระดับสูงสุด
ปรากฏการณ์ของม็อบเด็กและการแสดงออกของนักเรียน นักศึกษา ที่ลุกขึ้นมาท้าทายความเชื่อดั้งเดิมอย่างอุกอาจ ก้าวร้าว และกว้างขวางดังที่ไม่เคยปรากฏมาก่อน บางคนเปรียบเปรยว่าเป็น wind of change หรือ "สายลมแห่งการเปลี่ยนแปลง"
สถานการณ์การชุมนุมในขณะนี้ หลายฝ่ายถามไถ่กันมากว่าสุดท้ายจะจบลงที่ตรงไหน เมื่อรัฐบาลงัด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ออกมาใช้ แต่ก็ยังไม่สามารถสยบม็อบได้อย่างราบคาบ แถมยังมีแนวโน้มยืดเยื้อ และสุ่มเสี่ยงเป็นน้ำผึ้่งหยดเดียวอย่างยิ่ง
เกิดคำถามที่แหลมคม 2 คำถามทันทีที่มีข่าวทวิตเตอร์แจ้งปิดบัญชีผู้ใช้ในไทยเกือบ 1,000 บัญชี โดยอ้างว่าเกี่ยวข้องกับปฏิบัติการข่าวสาร หรือ "ไอโอ" ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับกองทัพบกไทย
ในยุคที่การรับรู้ข่าวสารผ่านโลกออนไลน์ทำได้ง่ายๆ เพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส ทำให้ภาคธุรกิจหันมาใช้การตลาดผ่านโซเชียลมีเดีย เพื่อให้เข้าถึงและคัดกรองกลุ่มลูกค้าที่เป็นเป้าหมาย ทำให้การค้าขายการประสบความสำเร็จมากขึ้น
การเมืองไทยช่วงนี้เข้าสู่โหมดการนัดชุมนุมต่อเนื่องกันแล้ว โดย "ทัพหน้า" เป็นกลุ่มนิสิตนักศึกษาตามรั้วมหาวิทยาลัยต่างๆ
ท่ามกลางสถานการณ์ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ลดระดับลงอย่างชัดเจน ข้อมูลจากฝ่ายความมั่นคงยืนยันว่า สถิติเหตุรุนแรงในรอบปี 63 ลดลงถึง 58% เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า ทำให้มีการทยอยยกเลิกการใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อย่างต่อเนื่อง
ท่ามกลางกระแสความเคลื่อนไหวของทั้งกลุ่มสนับสนุนและคัดค้านโครงการนิคมอุตสาหกรรมจะนะ อ.จะนะ จ.สงขลา ก่อนถึงวันเปิดเวทีใหญ่รับฟังความคิดเห็นของพี่น้องประชาชน ในวันเสาร์ที่ 11 ก.ค.63 ปรากฏว่านักวิชาการหลากหลายสาขาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) ได้ตั้งวงเสวนาเพื่อถกแถลงข้อดีข้อเสียของโครงการ
ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) อ้างผลสำรวจความคิดเห็นเบื้องต้นของพี่น้องประชาชนใน อ.จะนะ จ.สงขลา ส่วนใหญ่ราวๆ 80% มีแนวโน้มสนับสนุนการปักเสาตั้งโรงงานเพื่อทำโครงการ "เมืองต้นแบบอุตสาหกรรมก้าวหน้าแห่งอนาคต"
ศอ.บต.จัดอบรม "139 บัณฑิตอาสา" ในพื้นที่ อ.จะนะ จ.สงขลา สร้างความเข้าใจกระบวนการขับเคลื่อนเมืองต้นแบบอุตสาหกรรมก้าวหน้าแห่งอนาคต หลังประกาศเป็น "เขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ" ย้ำแนวทางประชาชนมีส่วนร่วม อ้างทำเวทีประชาคมไปแล้ว 31 หมู่บ้าน