แม้เวทีรับฟังความคิดเห็นในพื้นที่ก่อสร้างจริงจะยังไม่ได้ขับเคลื่อนเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมตามกระแสเรียกร้องของคนในพื้นที่และกลุ่มเอ็นจีโอก็ตาม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยผนึกกำลังพันธมิตร ปูพรมตรวจภูมิคุ้มกันก่อนคลายล็อกให้ชาวปัตตานีนับหมื่นคนด้วยชุดตรวจว่องไว ยก "ปัตตานีโมเดล" ต้นแบบจัดการชุมชนควบคุมโควิด-19 หนุนรัฐทำ Big Data รับมือระยะยาว
แม้ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือ ศอ.บต. จะยอมถอย ด้วยการเลื่อนจัดเวทีรับฟังความเห็นประชาชนในการขับเคลื่อนโครงการในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจ อ.จะนะ จ.สงขลา ออกไปแบบไม่มีกำหนดก็ตาม หลังจากมีกระแสเรียกร้องจากภาคประชาชนบางส่วนในพื้นที่ ตลอดจนองค์กรพัฒนาเอกชน (เอ็นจีโอ) และนักวิชาการบางกลุ่ม
ในช่วงเวลาที่หลายภาคส่วนในสังคมเริ่มพูดกันถึง "วิถีใหม่" หรือ new normal ทั้งภาคธุรกิจและสังคม นักยุทธศาสตร์จะมองในมิติที่ลึกและกว้างกว่านั้น
ม.อ.ปัตตานี เผยผลสำรวจความคิดเห็นประชาชนชายแดนใต้ พบส่วนใหญ่รับทราบมาตรการสกัดโรคระบาดของรัฐ พร้อมหนุนคุมเข้มช่วงรอมฎอน เชียร์ต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อีก 1 เดือนสู้โควิด แต่ยอมรับเจอผลกระทบมากสุดจากการห้ามเดินทางข้ามจังหวัด ข่าวร้ายทะลักทำเสียสุขภาพจิต
ในสถานการณ์ที่หลายฝ่ายเริ่มมองไปถึงการเปลี่ยนแปลงของสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองอย่างพลิกฝ่ามือหลังผ่านช่วงเวลาอันเลวร้ายของโควิด-19 สิ่งที่มองข้ามไปไม่ได้ก็คือ "ยุทธศาสตร์ชาติ" ที่ต้องปรับเปลี่ยนกันขนานใหญ่เพื่อรองรับภัยคุกคามที่คาดไม่ถึงเช่นนี้
ในยุคโควิดแพร่ระบาด หลายคนคงเคยได้ยินข่าวคนไทยที่นับถือศาสนาอิสลามไปชุมนุมทางศาสนาในต่างประเทศ เมื่อกลับมาแล้วบางส่วนมีเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใหม่ติดมาด้วย
การตัดสินใจประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินของรัฐบาลลุงตู่ เป็นไปตามรายงานการประเมินสถานการณ์ของฝ่ายความมั่นคง ที่นำโดยสภาความมั่นคงแห่งชาติ หรือ สมช. และกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หรือ กอ.รมน.
พลันที่ ผบ.ทบ.สั่งศึกษาปฏิบัติการที่เรียกว่า lone wolf หลังจากเกิดเหตุมือปืนคนเดียวกราดยิงในที่สาธารณะบ่อยครั้งในช่วงหลัง ทำให้เกิดกระแสขานรับในแง่ของความตื่นตัวของกองทัพมากพอสมควร
ศาสตราจารย์ ดร.สุรชาติ บำรุงสุข นักวิชาการด้านความมั่นคงชื่อดัง จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขียนบทความชำแหละ "เสนาพาณิชย์" หรือ "ธุรกิจในค่ายทหาร" ซึ่งโดยนัยหมายถึงผลประโยชน์ทับซ้อนขนาดมหึมาในกองทัพ