ช่วงนี้ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีความเคลื่อนไหวของกลุ่มและองค์กรต่างๆ รวมทั้งนักศึกษาอย่างคึกคัก โดยมีประเด็นเคลื่อนไหวหลักๆ 2 ประเด็น
ท่ามกลางกระแสของฝ่ายค้าน นักวิชาการ และองค์กรภาคประชาสังคมบางส่วนที่ออกมาโจมตีการบังคับใช้กฎหมายพิเศษที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ยืดเยื้อมานานกว่า 15 ปี และเรียกร้องให้ยกเลิก
7 พรรคฝ่ายค้านเดินหน้าแคมเปญรณรงค์แก้ไขรัฐธรรมนูญ คราวนี้ลงไปในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่าง จ.ปัตตานี ซึ่งมีสัดส่วนของคนที่ "โหวตโน" เมื่อครั้งทำประชามติรัฐธรรมนูญฉบับนี้เมื่อปี 59 ในสัดส่วนสูงที่สุดในประเทศ
"ทำอย่างไรให้กฎหมายพิเศษไม่พิเศษอีกต่อไป และไม่มีการเลือกปฏิบัติต่อมลายูมุสลิม"
การพบโครงกระดูกของ "บิลลี่" หรือ นายพอละจี รักจงเจริญ แกนนำกะเหรี่ยงบ้านบางกลอย จังหวัดเพชรบุรี ในลักษณะถูกฆ่าเผาในถังแดงแล้วโยนทิ้งน้ำ หลังจากหายตัวไปอย่างไร้ร่องรอยนานกว่า 5 ปี ทำให้ปัญหา "อุ้มฆ่า-อุ้มหาย" ในสังคมไทยถูกหยิบมาพูดถึงอย่างจริงจังอีกครั้ง
ผ่าน 20 วันของเหตุการณ์ลอบวางระเบิดหลายจุดในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ตำรวจเชื่อว่าเชื่อมโยงกับสถานการณ์ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มีการสืบสวนจับกุมคนในพื้นที่ และใชกฎหมายพิเศษควบคุมตัว
ส.ว.เดินเครื่องลุยโครงการ "สมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน" ประเดิมเวทีแรกที่ปัตตานี หนึ่งในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้นำภาคส่วนต่างๆ ในพื้นที่ชง 5 ข้อเรียกร้อง เน้นงานพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิต ก้าวข้ามสถานการณ์ความไม่สงบ
ท่ามกลางความตลบอบอวลแห่งวิวาทะว่าด้วย "สงครามลูกผสม" หรือ "สงครามไฮบริด" ที่ พล.อ.อภิรัชต์ คงสมพงษ์ ผบ.ทบ.ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อต่างประเทศ โดยเปรียบเทียบเชื่อมโยงกับปรากฏการณ์การเมืองภายในของไทย จนถูกหลายฝ่ายออกมาแสดงทัศนะตอบโต้
หลังจากเมื่อวันพุธที่ 7 ส.ค.62 พบระเบิดเพลิงเพิ่มเติมที่ร้านไพโรจน์เบเกอรี่ ซึ่งเปิดเป็นร้านจำหนายเสื้อผ้า แต่ยังใช้ชื่อเดิมที่เคยเป็นร้านขายขนม
ทิศทางคดีระเบิดป่วนกรุง ตำรวจมุ่งประเด็นไปที่ปมการสร้างสถานการณ์จากกลุ่มที่เคลื่อนไหวในจังหวัดชายแดนภาคใต้อย่างชัดเจน