สกู๊ป-สารคดีข่าว
-
สถาปนาความเข้มแข็งการเงิน "คนรากหญ้า"
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 02 มีนาคม 2554 เวลา 13:07 น.เขียนโดยโต๊ะข่าวเพื่อชุมชนท่ามกลางกระแสการสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนฐานราก ประเด็นหนึ่งที่น่าสนใจคือการเงินการคลังเพื่อท้องถิ่นและองค์กรการเงินรากหญ้า ซึ่งโต๊ะข่าวเพื่อชุมชนขอนำเสนอจากเวทีฟื้นพลังชุมชนท้องถิ่นสู่การอภิวัฒน์ประเทศไทย
-
“การแพทย์แผนไทย” ภูมิคุ้มกันสุขภาพ–ความยั่งยืนของชุมชน
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 15 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 16:02 น.เขียนโดยโต๊ะข่าวเพื่อชุมชนงบประมาณสาธารณสุขกว่า 8 หมื่นล้านบาทที่รัฐต้องจ่ายสำหรับเวชภัณฑ์แผนปัจจุบัน เพื่อแลกมาซึ่งสุขภาพประชาชน ทำให้บางคนกล่าวว่า “ไทยกำลังเป็นประเทศราชตะวันตกด้วยการส่งส่วยผ่านค่ายา” เราใช้เงินอย่างคุ้มค่าแล้วจริงหรือ?
-
“ป.อินคำ” สู้เพื่อชาวบ้านเข้าถึงสิทธิความเป็นพลเมืองไทย
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 17:01 น.เขียนโดยรำพึง จำปากุลกว่า 8 ปี ของชีวิตอาสาสมัคร “ป.อินคำ” ทำงานทั้งกลางวันที่สำนักงานที่ว่าการอำเภอแม่ระมาด และกลางคืนที่หมู่บ้านแม่ตื่นที่เป็นบ้านเกิด ยามค่ำคืนมักจะมีชาวบ้านมาปรึกษาปัญหาต่างๆ เพราะพวกเขาไม่กล้าที่จะเดินทางไปอำเภอเนื่องจากไม่สามารถสื่อสารกับเจ้าหน้าที่รัฐได้
-
“สภาองค์กรชุมชนตำบล” การพัฒนารากหญ้าที่ต้องไม่ลืมมิติการเมือง
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 04 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 17:16 น.เขียนโดยรุ่งโรจน์ เพชระบูรณินเวทีกำหนดทิศทางสนับสนุนการดำเนินงานสภาองค์กรชุมชน” โดยสำนักงานสนับสนุนขบวนองค์กรชุมชน พอช. สำนักงานที่ประชุมระดับชาติสภาองค์กรชุมชนตำบล เมื่อเร็วๆนี้ ไพโรจน์ พลเพชร ประธานคณะกรรมการประสานงานองค์กรพัฒนาเอกชน(กป.อพช.) บอกเล่าเส้นทางการเมืองภาคพลเมืองได้อย่างน่าฉุกคิด
-
นำร่องแจกโฉนดชุมชนคลองโยง วัดใจรัฐบาลปฏิรูปที่ดินทั้งระบบ
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 31 มกราคม 2554 เวลา 17:09 น.เขียนโดยทีม Thaireformหนึ่งในแผน“ปฏิรูปประเทศไทย” ที่นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี ประกาศไว้ภายหลังได้เกิดปัญหาความขัดแย้งแตกแยกในบ้านเมือง คือการลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจและสังคม โดยอีกแนวทางสำคัญของเรื่องนี้ก็คือ“การปฏิรูปที่ดิน"
-
“ที่อ่านหนังสือหมู่บ้าน” แหล่งเรียนรู้หรือรกร้าง?
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 28 มกราคม 2554 เวลา 15:06 น.เขียนโดยรตินันท์ เหล่าอารักษ์พิบูลเร็วๆนี้กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายฟื้นฟูที่อ่านหนังสือประจำหมู่บ้าน และเนื่องจากรัฐบาลกำหนดให้ปี 2552-2561 เป็นทศวรรษแห่งการอ่าน โต๊ะข่าวเพื่อชุมชนจึงสำรวจความคิดเห็นว่าที่อ่านหนังสือประจำชุมชนได้รับความสำเร็จหรือล้มเหลวอย่างไร
-
อบต.ศรีสำราญ เพาะ"ปัญญา"ลบสี-ลดขัดแย้ง
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 23 มกราคม 2554 เวลา 22:00 น.เขียนโดยอรรถภูมิ อองกุลนะมากไปกว่าความสุขจากเรื่องสุขภาพและเศรษฐกิจ เชื่อว่า “ขอให้บ้านเมืองสงบ สังคมคลายความขัดแย้ง” น่าจะเป็นคำอธิษฐานลำดับต้นๆ สำหรับคนไทยในยามนี้
-
ปฏิรูปสาธารณสุขชุมชน “ยั่งยืน-ลดเหลื่อมล้ำ”
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 19 มกราคม 2554 เวลา 15:34 น.เขียนโดยโต๊ะข่าวเพื่อชุมชนช่องว่างเมือง-ชนบทถ่างออกชัดเจนทุกมิติ แม้วาทกรรมปฏิรูปประเทศลดความเหลื่อมล้ำจะชินหู แต่รูปธรรมยังเลือนลาง โต๊ะข่าวเพื่อชุมชนพาไปกระเทาะว่าระบบสาธารณสุขไทยก็ไม่ได้อยู่เหนือเกณฑ์นี้ ขณะที่คนเมืองครุ่นคิดว่าจะศัลยกรรมเสริมความงามที่ใด ชาวบ้านวิตกว่าจะมีหมอช่วยยื้อชีวิตให้หรือไม่
-
“สัจจะสะสมทรัพย์” ตั้งแต่เกิดจนตายที่จันทบุรี
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 18 มกราคม 2554 เวลา 18:02 น.เขียนโดยอมราวดี อ่องลาแม้ไม่ได้ถูกยกเป็นหนึ่งในผลงานเด่นช่วงปีใหม่ แต่ “สวัสดิการชุมชน” ก็เป็นวาระที่ถูกพูดถึงมากเรื่องหนึ่งในรอบปี ด้วยเป็นฐานที่มั่นคงตามสโลแกนไทยเข้มแข็งที่เริ่มจากชุมชนฐานราก ไปพบกับต้นแบบความสำเร็จแห่งหนึ่งของประเทศที่ริ่เริ่มโดยชุมชน “กลุ่มสัจจะสะสมทรัพย์จันทบุรี”
-
“คืนสุขภาพให้ชุมชน” ความงามทางการแพทย์ที่ “รพ.ละงู”
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 12 มกราคม 2554 เวลา 08:00 น.เขียนโดยวิมล กิจวานิชขจรบ่อยครั้งที่ความวิตกกังวลของคนไข้เป็นเรื่องที่หมอไม่ใส่ใจ หลายครั้งที่กรณีพิพาททางการแพทย์จากความผิดพลาดบานปลายจากความรู้สึกไม่เข้าใจกัน พบกับความงดงามของระบบสุขภาพที่มีจิตใจนำทาง ความรู้เป็นเครื่องมือ ชุมชนเป็นเป้าหมายที่ “รพ.ละงู” จ.สตูล…