สกู๊ป-สารคดีข่าว
-
“ดีเบตยกแรก” 6 พรรคการเมือง “ว่าที่รัฐบาลใหม่”
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 24 มิถุนายน 2554 เวลา 03:30 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน“เวทีดีเบตประชันวิสัยทัศน์นโยบาย ชี้ชะตาประเทศไทย” จัดขึ้นโดยมหาวิทยาลัยศรีปทุม ร่วมกับ มูลนิธิองค์กรกลางเพื่อประชาธิปไตย ที่ประชุมสภาอาจารย์แห่งประเทศไทย สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ FM.100.5 New Network กลุ่มเออาร์ สถานีโทรทัศน์ผ่านดาวเทียมสปริงนิวส์ และเครือข่ายเคเบิลทีวีทั่วประเทศ เมื่อวันที่ 23 มิื.ย. ที่มหาวิทยาลัยศรีปทุม ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา ถอดความมานำเสน ...
-
60 วัน จาก “เขาพนม” ถึงสังคม วันที่การเยียวยายังมาไม่ถึง
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 20 มิถุนายน 2554 เวลา 15:24 น.เขียนโดยอมราวดี อ่องลา ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน2 เดือนเศษของเหตุการณ์พิบัติภัยถล่มภาคใต้ ภาพความรุนแรงค่อยๆเลือนไปตามกระเส ขณะที่ในพื้นที่จริงชาวบ้านยังคงทนทุกข์ เพราะการช่วยเหลือเยียวยายังเดินทางข้ามน้ำข้ามทะเลมาไม่ถึง…หรือเพราะอะไร???
-
3 ปราชญ์ ปาถกฐา เพราะการศึกษา “คือรากฐานแห่งชีวิต”
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 18 มิถุนายน 2554 เวลา 11:39 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพาชัย - อิสรภาพ หนุนภักดี ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนท่ามกลางปัญหานโยบาย "การยุบโรงเรียนขนาดเล็ก 7 พันแห่ง" ศ.นพ.ประเวศ วะสี, ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง และ อ.สุลักษณ์ ศิวรักษ์ ร่วมปาถกฐาว่าด้วยการศึกษาเพื่อรากหญ้าแข็งแรง-สังคมเข้มแข็ง ในงานซึ่งจัดโดยสภาการศึกษาทางเลือกเมื่อเร็วๆนี้ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา นำมาเสนอ…
-
พรรคการเมืองตีฆ้องยกระดับสาธารณสุขชุมชน : ยาหอมขายฝัน?
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 09 มิถุนายน 2554 เวลา 18:25 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนหนึ่งในนโยบายที่ทุกพรรคการเมืองจำเป็นต้องมีคือ สาธารณสุข โดยเฉพาะการลงลึกให้ถึงรากหญ้า เพราะหากสามารถทำนโยบายที่เข็นออกมาขายฝันได้ แน่นอนว่าความพึงพอใจจะถูกสะท้อนกลับมารูปของคะแนนเสียงอันล้นหลาม
-
“อีเอ็มบอล” กับปฏิบัติการ “จิตอาสาคืนชีวิตให้เจ้าพระยาจากเรือน้ำตาลล่ม”
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 07 มิถุนายน 2554 เวลา 17:22 น.เขียนโดยโครงการคืนชีวิตให้แม่น้ำเรือน้ำตาลล่ม 1 มิ.ย. สร้างผลกระทบให้ชุมชน-สัตว์น้ำ-สิ่งแวดล้อมอย่างประเมินได้ยาก ขณะที่ภาครัฐ-ทีมกู้ภัยพยายามคลี่คลายสถานการณ์ และกำลังนำไปสู่คดีฟ้องร้อง อีกด้านนักวิชาการ-ปราชญ์ชาวบ้าน-โซเชียลเน็ตเวิร์ค ได้มารวมตัวกันปฏิบัติการจิตอาสา “คืนชีวิตให้แม่น้ำเจ้าพระยา”!
-
ลุ่มน้ำแม่ตาวนาข้าวยังปนเปื้อนแคดเมียม
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 04 มิถุนายน 2554 เวลา 08:09 น.เขียนโดยแสงจันทร์ ปทุมมาลย์ (จากนิตยสาร เส้นทางสีเขียว)หลังจากมีการเปิดเผยผลงานวิจัยในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่ตาวในจังหวัดตาก เมื่อปี 2547 ที่พบการปนเปื้อนของสารแคดเมียมในระดับสูงเกินมาตรฐานหลายเท่าตัว ในแหล่งน้ำ ดินทำการเกษตร และพืชผลการเกษตรของชาวบ้านในท้องที่ 3 ตำบล คือ ต.พระธาตุผาแดง แม่ตาว และแม่กุ อ.แม่สอด จ.ตาก จนบัดนี้ 7 ปีให้หลังยังไม่มีทีท่าว่าการแก้ไขปัญหาการปนเปื้อนและผลกระทบที่มีต่อพืชไร่และชาวบ้านจะลุล่วงเป็นที่พอใจแก่ทุกฝ่ายได้
-
ผู้นำขบวนชุมชน ย้อนอดีตขีดอนาคต ถามหา “พญาอินทรีย์นำประเทศ”
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 03 มิถุนายน 2554 เวลา 13:42 น.เขียนโดยอมราวดี อ่องลาอีกไม่ถึงเดือนประเทศไทยจะได้ผู้นำใหม่เป็นหัวขบวนกำหนดทิศทางการพัฒนา ผู้นำชุมชนฐานรากจึงร่วมสะท้อนอดีต-ปัจจุบัน และมองอนาคตว่า "พญาอินทรีย์" ที่ท้องถิ่นถวิลหาเป็นเช่นไร?.... ........................... มองผ่าน 3 ผู้นำรุ่นใหม่- 2 ผู้นำรุ่นใหม่... นับจากบรรทัดนี้ั...
-
พ.ร.บ.เกษตรกรรมยั่งยืน สานฝัน กม.ของเกษตรกรรายย่อย 2 ปีถึงฝั่ง?
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 02 มิถุนายน 2554 เวลา 17:09 น.เขียนโดยวิมล กิจวานิชขจรวิกฤติความมั่นคงอาหารโลก ด้านหนึ่งเป็น “โอกาส” ของอู่ข้าวอู่น้ำไทยคือภาคเกษตรกรรม แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่าลู่ทางอันแจ่มใสนี้จำกัดอยู่ในกลุ่มทุนเกษตรขนาดใหญ่ ส่วน“เกษตรกรรายย่อย” ค่อยๆล้มละลายโดยมิได้รับการค้ำชูอย่างเป็นระบบ นอกจากประชานิยมสงเคราะห์แบบเทกระจาดชั่วครั้งคราว
-
“ลิเกการเมือง” โหมยกระดับการศึกษา: “รูปธรรม?” คำถามที่ทุกพรรคต้องตอบ
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 30 พฤษภาคม 2554 เวลา 01:15 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนรากเหง้าปัญหาเรื้อรังในสังคมไทยต่างมีจุดกำเนิดเดียวกันคือระบบ “การศึกษา” ที่ล้มเหลว และหากจะพุ่งเป้าลงไปยังชนบท-ห่าง ไกล หรือชุมชน ยิ่งตอกย้ำภาพความเหลื่อมล้ำ เด็กไทยต้องจำนนต่อกรอบการศึกษาที่ชำรุด ยังถูกสำทับด้วยโอกาสทางการศึกษาที่แตกต่าง
-
ประชันนโยบายขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ “ลมปากเลื่อนลอยพรรคการเมือง?”
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 28 พฤษภาคม 2554 เวลา 01:21 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนความเป็นอยู่อันแร้นแค้นของแรงงานไทยมีให้เห็นทั่วไป โดยเฉพาะในชนบทหรือพื้นที่ห่างไกลยิ่งสุ่มเสี่ยงถูกเอาเปรียบกดค่าแรงต่ำกว่าค่าแรงขั้นต่ำ แม้ว่าการกระทำของผู้ประกอบการจะผิดกฎหมาย แต่แรงงานคงไม่อาจหาญพอที่จะลุกขึ้นมาเรียกร้องสิทธิอันชอบธรรม เพราะต้องแลกกับการไม่มีงานทำ