สกู๊ป-สารคดีข่าว
-
ที่อยู่คน ที่อยู่ป่า ทางเดินน้ำ และที่ทำกิน...ผังเมืองไทย?
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 26 ตุลาคม 2554 เวลา 16:43 น.เขียนโดยรศ.ดร.อดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยาเหตุการณ์น้ำท่วมน้ำแล้งและดินโคลนถล่ม กำลังส่งสัญญาณสำคัญว่าประเทศไทยจะปล่อยให้การดำเนินกิจกรรมต่างๆ เป็นไปอย่างไร้ทิศทางอย่างนี้หรือ? ให้ใครก็ตามที่มีเงิน เศรษฐีต่างชาติ นักการเมือง หรืออดีตข้าราชการผู้ใหญ่สามารถใช้เงินวิ่งเต้นทำอะไรก็ได้เพื่อแสวงหาประโยชน์ส่วนตัวโดยไม่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมและให้ประเทศต้องรับภาระความเสียหาย กรณีน้ำท่วมประเทศไทยที่สร้างความสูญเสียมหาศาลถูกอ้างเสมอว่าเกิดขึ้นเพร ...
-
คนไทยรวมพลังผุด “นวัตกรรมสู้น้ำ"
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 19 ตุลาคม 2554 เวลา 13:52 น.เขียนโดยณัฐดนัย ใหม่ซ้อน ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนกว่า 2 เดือนที่ไทยเผชิญกับวิกฤตอุทกภัย จนสร้างความเดือดร้อนให้ประชาชนเป็นอย่างมาก กลายเป็นบททดสอบหนึ่งให้ย้อนนึกถึงการกระทำของมนุษย์ในอดีตอันส่งผลถึงปัจจุบัน ตรงกันข้ามในความเลวร้ายก็แสดงให้เห็นถึงน้ำใจของคนไทยผ่านนวัตกรรมสมัยใหม่ที่คิดค้นขึ้นเพื่อบรรเทาความเดือดร้อน
-
“วิถีชุมชน-ชาวนา-หลักสูตรท้องถิ่น”เรื่องที่ไม่เคยหายไปจากร.ร.ขนาดเล็ก
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 18 ตุลาคม 2554 เวลา 09:01 น.เขียนโดยกสานติ์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนท่ามกลางกระแสการไหล่บ่าของทุนนิยม นโยบายยุบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก การเพิกเฉยไม่เอาใจใส่ของภาครัฐ อะไรคือคำตอบของความอยู่รอด ชุมชนมีบทบาทอย่างไรต่อการพัฒนาองค์ความรู้ของเด็ก ติดตามได้จากรายงาน..
-
วิกฤตอุทกภัย “น้ำซ้ำโรคซัด”
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 17 ตุลาคม 2554 เวลา 15:06 น.เขียนโดยisranewsวิกฤตอุทกภัย ทำให้รัฐนาวาต้องกุมขมับตั้งโต๊ะระดมกุนซือวางยุทธศาสตร์ผันน้ำออกสู่ทะเล ขณะที่มีเสียงสะท้อนว่ามาตรการเยียวยาเฉพาะหน้า ปรากฎเพียงถุงยังชีพ-เวชภัณฑ์ยาชนิดขอไปที และอีกด้านหนี่งก็ “ไม่ใช่ว่าน้ำลดแล้วทุกข์ภัยจะหมดลง” ชาวบ้านชาวเมืองยังมีบรรดาโรคที่มากับน้ำท่วมจ่อซ้ำเติม
-
เศรษฐศาสตร์สามัญสำนึก : น้ำท่วม เขื่อน และประกันอุทกภัย
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 17 ตุลาคม 2554 เวลา 11:07 น.เขียนโดยกานดา นาคน้อยวิกฤตอุทกภัยฤดูฝนปีนี้ขณะนี้มีผลกระทบพื้นที่ 61 จังหวัด 600 อำเภอ มีประชากรได้รับผลกระทบมากกว่า 8 ล้านคนหรือมากกว่า 2 ล้านครัวเรือน สื่อมวลชนจัดอันดับว่าเป็นอุทกภัยที่ร้ายแรงที่สุดในรอบ 50 ปี แสดงว่าถ้าย้อนประวัติศาสตร์ไปเกิน 50 ปีก็จะพบอุทกภัยที่สาหัสกว่านี้ แล้วทำไมผ่านไปหลายสิบปีแล้วรัฐไทยยังแก้ปัญหานี้ไม่ได้?
-
ทันสมัยแต่ "ไม่ทันคน"
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 06 ตุลาคม 2554 เวลา 22:58 น.เขียนโดยนายแพทย์เกษม ตันติผลาชีวะเมื่อวันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๔๐ ผมได้ไปออกรายการโทรทัศน์แห่งหนึ่งที่มีคุณ พิศณุ นิลกลัด เป็นพิธีกร เพื่ออภิปรายเรื่องผลกระทบของการเล่นเกม “ทามากอตจิ” หรือสัตว์เลี้ยงคอมพิวเตอร์ต่อเด็กไทย นักวิชาการทางการศึกษาที่ร่วมรายการได้ให้ทัศนะว่าเป็นเรื่องที่ดีมาก สมควรส่งเสริมให้เล่น เพราะเป็นการสร้างความคิดริเริ่ม จะได้นำไปพัฒนาต่อไป
-
ไก่ที่หายไปจากป่าแก่งกระจาน เรื่องเล่าของชาวปกาเกอะญอ
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 05 ตุลาคม 2554 เวลา 19:47 น.เขียนโดยปิ่นแก้ว อุ่นแก้วหัวอกของพฤ โอโดเชา หลังจากการเดินทางไปพบปะพี่น้องชาวปกาเกอะญอแห่งผืนป่าแก่งกระจานในวันนั้น เสียงจากปลายสาย ยังเต็มไปด้วยความขื่นเข็ญ “แววตาที่ผมไปเห็น เหมือนต้นไม้ที่ถูกถอนออกมา เอาไปวางไว้ มีแต่จะตรอมใจตายไป ไม่มีหมู ไม่มีไก่ ไม่มีข้าว ไม่มีพิธีกรรม ไม่มีชุมชน ไม่เหลืออะไร มันเจ็บปวด เป็นหมู่บ้านที่ล่มสลาย” และพฤ กำลังจะบอกว่า สิ่งสำคัญที่หายไป สิ่งที่บอกว่าจากนี้ทุกอย่างจะไม่เหมือนเดิมอีกแล้ว
-
เปิดรายงานกรรมการสิทธิ์ฯ “ชะตากรรมชาวบ้านแหง” ใต้อุ้งมือนักการเมือง !
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 25 กันยายน 2554 เวลา 11:48 น.เขียนโดยพวงทิพย์ กลิ่นจันทร์รัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร แถลงนโยบายอย่างเป็นทางการ 23 ส.ค.54 หนึ่งในนั้นคือ “การเร่งรัดสำรวจและแสวงหาแหล่งแร่สำคัญเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ และพัฒนาอุตสาหกรรมต่อยอดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม” โดยให้ความสำคัญกับการกำกับดูแลผลกระทบสิ่งแวดล้อมและชุมชน
-
โรงเรียนชุมชน "โรงเรียนเล็ก ห้องเรียนใหญ่"
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 24 กันยายน 2554 เวลา 17:59 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพาชัย30 ก.ย. นี้ จะเป็นวันชี้ชะตาโว่า “แผนพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก” ที่ยื่นต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ 15 ส.ค. นั้น คำตอบจะออกหัวหรือก้อย ซึ่งที่ผ่านมามีข่าวว่า ได้ออกคำสั่งชะลอนโยบายเอาไว้ และจะไม่ยุบโรงเรียนขนาดเล็กแล้ว แต่ในทางปฏิบัติยังคงมีหนังสือจากทางเขตพื้นที่การศึกษา สั่งการให้มียุบ-ควบรวมโรงเรียนขนาดเล็กอยู่ตลอดเวลา ทางโรงเรียนขนาดเล็กหลายแห่ง จึงลุกขึ้นมาจัดการเรียนการส ...
-
มนุษยธรรมหรือความอยู่รอด : เส้นขนานที่ยากบรรจบใน “รพ.อุ้มผาง”
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 21 กันยายน 2554 เวลา 10:15 น.เขียนโดยจันทราภา จินดาทอง นักสังคมสงเคราะห์ โรงพยาบาลอุ้มผาง“ฉะมื่อไม่นึกไม่ฝันว่าแม่จะมีชีวิตอยู่จนถึงทุกวันนี้ ก่อนที่จะเข้าโรงพยาบาลเมื่อสองเดือนก่อน แม่สั่งเสียพ่อกับลูกทุกคนเอาไว้แล้ว” พวกเราไม่กล้าพาแม่ไปหาหมอตอนมีอาการใหม่ ๆ เพราะแม่เป็นคนไม่มีบัตร แต่แม่ก็ได้รับการดูแลเป็นอย่างดี ฉะมื่อรู้สึกขอบคุณทุกคนที่โรงพยาบาลอุ้มผางค่ะ”