สกู๊ป-สารคดีข่าว
-
“เมดิคัล ฮับ” เม็ดเงินมหาศาล กับ “สุขภาพชุมชน” บนความสุ่มเสี่ยง
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 04 มกราคม 2554 เวลา 12:26 น.เขียนโดยธนวัฒน์ เพ็ชรล่อเหลียนเม็ดเงินนำเข้ามหาศาล กับชาวต่างชาติที่หลั่งไหลเข้ามาใช้บริการแพทย์ในประเทศ ทำให้เกิดความพยายามผลักดันไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ โต๊ะข่าวเพื่อชุมชนพาไปสำรวจความหวั่นวิตกและเสียงเตือนว่าระบบสุขภาพชุมชนจะถูกบั่นทอน ความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงบริการสาธารณสุขระหว่างคนจน-รวยจะยิ่งถ่างขึ้น
-
เหลียวหลัง แลหน้า ชุมชนไทย “สถานการณ์เด่น ประเด็นแรง”
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 01 มกราคม 2554 เวลา 00:11 น.เขียนโดยโต๊ะข่าวเพื่อชุมชนรอบปีที่ผ่านมาสังคมไทยผ่านทุกข์หนัก ทั้งร้าวฉานแบ่งสี-ฝ่าย ภัยธรรมชาติซ้ำเติมปัญหารากหญ้าร้อนทั้งคดีคนจน ที่ดิน หนี้สิน แต่ก็มีเรื่องน่ายินดีที่วิกฤติเป็นโอกาสเกิด คปร.-คสป.มุ่งแก้ความเหลื่อมล้ำทางสังคม และมิติการรวมพลังชาวบ้าน โต๊ะข่าวเพื่อชุมชนร่วมเหลียวหลังปี 2553 แลหน้าปี 2554…
-
ได้เวลาปฏิรูปการจัดการภัยพิบัติ “เสียงสะท้อนจากชุมชนต้นทาง”
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 27 ธันวาคม 2553 เวลา 17:40 น.เขียนโดยโต๊ะข่าวเพื่อชุมชนวิกฤติน้ำท่วมหมาดๆ หรือ 6 ปีย้อนโศกนาฏกรรมสึนามิ กระทั่งน้ำท่วมซ้ำซาก ภัยแล้งจนชาชิน สังคมไทยได้บทเรียนอะไร ถึงเวลาแล้วหรือยังที่ต้องหาคำตอบให้กับระบบจัดการภัยพิบัติที่ดีพอจะรับมือ ตั้งแต่การป้องกัน การเตือนภัย การช่วยเหลือบรรเทา และการฟื้นฟู
-
ปฏิรูปการศึกษาไทย ทางรอดแบบ“พอเพียง”
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 13 ธันวาคม 2553 เวลา 15:43 น.เขียนโดยisranews“เศรษฐกิจพอเพียง” มักถูกมองเป็นเพียงปรัชญา หรืออยู่ในท้องนา การปฏิบัติจึงอยู่ในวงแคบและถูกมองว่าทำได้ยาก แต่ภาวะที่โลกทุนนิยมกำลังถึงทางตันในหลายด้าน อาทิ ความไม่มั่นคงทางอาหาร ภาคเกษตรกรรมยังคงเป็นฐานที่มั่นเศรษฐกิจพอเพียงได้ และการศึกษาเป็นปัจจัยสำคัญที่ชี้ความสำเร็จ
-
ตามรอย “คนปิดทองหลังพระ” ตามรอยพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 12 ธันวาคม 2553 เวลา 12:00 น.เขียนโดยisranewsในวันนี้ เศรษฐกิจพอเพียง-พึ่งตนเอง เกษตรทฤษฎีใหม่ ไม่เป็นเพียงแต่ปรัชญาเท่านั้น แต่ยังสัมผัสได้จริงด้วยการปฏิบัติในหลายระดับหลากมิติ และความสำเร็จเหล่านี้จะเกิดขึ้นไม่ได้เลย หากไม่มีแนวทางที่ในหลวงทรงพระราชทาน และไม่มีคนต้นแบบที่เดินตามรอยพ่อหลวงให้เห็นเป็นตัวอย่าง
-
“แม่ยูร” หญิงอีสานผู้สำเร็จวิชาเศรษฐศาสตร์ชาวนา
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 06 ธันวาคม 2553 เวลา 12:00 น.เขียนโดยสมลักษณ์ หุตานุวัตร“โง่ จน เจ็บ” เป็นวลีนมนานกาเลที่สังคมไทยนิยามคนในอาชีพเกษตรกรรม แม้ว่าพร้อมกันนั้นจะมีคำยกย่องสรรเสริญว่าเป็น “กระดูกสันหลังของชาติ” คือผลิตอาหารเลี้ยงคนส่วนใหญ่…เส้นทางชาวนาของ “แม่ยูร” อาจจะเป็นตัวแทนอีกหลายๆต้นแบบที่บอกว่าทัศนะที่ดูแคลนเช่นนั้นหาถูกไม่..
-
ปมร้อน “ที่ดินทำกินภาคเกษตร” ความเหลื่อมล้ำจากโครงสร้าง
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 01 ธันวาคม 2553 เวลา 14:30 น.เขียนโดยอมราวดี อ่องลาชาวบ้านที่ไร้ที่ดินมีมากกว่า 5 แสนครัวเรือน กว่า 2 ล้านราย ส่วนใหญ่อยู่ในภาคเกษตรกรรม ซึ่งเป็นรากฐานการผลิตอาหารที่สำคัญของสังคม.. ปัญหานี้ไม่ได้จำกัดวงแคบเฉพาะปัจเจก ทว่าเกี่ยวพันอย่างสำคัญกับความเหลื่อมล้ำ ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ทั้งนโยบาย กฏหมาย ที่ถูกระบุว่า “สองมาตรฐาน”
-
ฮ้อยใจ ฮอมผญา ฮ่ายภูมิปัญญา สู่ระบบดูแลสุขภาพท้องถิ่น
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 22 พฤศจิกายน 2553 เวลา 16:10 น.เขียนโดยisranewsระบบดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาพื้นบ้านถูกละเลยมานาน จึงน่ายินดีที่กระทรวงสาธารณสุขออกมาประกาศนโยบายตั้งโรงพยาบาลแพทย์แผนไทย 4 ภาคต่อยอดในพื้นที่ต้นแบบที่เชียงราย สกลนคร ปราจีนบุรี และสุราษฎร์ธานีหรือชุมพร โต๊ะข่าวเพื่อชุมชนพาไปพบรูปธรรมดีๆในภาคเหนือ
-
การลดความเหลื่อมลํ้าและสร้างโอกาสเข้าถึงทรัพยากรที่ดิน
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 21 พฤศจิกายน 2553 เวลา 23:14 น.เขียนโดยอดิศร์ อิศรางกูร ณ อยุธยา สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยปัญหาการไร้ที่ดินทำกินของประชาชน การกักตุนที่ดิน การเก็งกำไรที่ดิน การไม่ใช้ประโยชน์ในที่ดิน การบุกรุกที่ดินรัฐ ได้รับความสนใจอย่างมาก แต่น่าเสียดายที่หลายสิบปีที่ผ่านมารัฐบาลไทยแก้ปัญหาอย่างผิวเผินด้วยมาตรการนำพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมมาจัดให้ประชาชน แทนที่จะวิเคราะห์ปัญหาเพื่อแก้ที่ต้นตอ
-
กรรมาธิการสภาฯ รับทางออกใหม่แทนเขื่อนแก่งเสือเต้น ไม่ซ้ำร้อยวิกฤติอุทกภัย
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 03 พฤศจิกายน 2553 เวลา 16:01 น.เขียนโดยประสิทธิพร กาฬอ่อนศรีสถานการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ที่ต่อเนื่องรุนแรงมากว่า 2 สัปดาห์ พื้นที่รับผลกระทบ 38 จังหวัด มีเสียงสะท้อนที่ไม่ได้ออกมาจากภาครัฐ คือฟากฝั่งนักวิชาการและเอ็นจีโอให้ทบทวนความบกพร่องในการบริหารจัดการน้ำของประเทศ ชาวบ้านในพื้นที่โครงการเขื่อนแก่งเสือเต้นจึงนำเสนอโมเดลการบริหารน้ำแทนเขื่อน