สกู๊ป-สารคดีข่าว
-
“ชนบทบนความเสี่ยงทางอาหาร” เข็มทิศนำทางรัฐก่อนสายเกินแก้
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 27 ตุลาคม 2553 เวลา 18:00 น.เขียนโดยอมราวดี อ่องลามายาภาพที่ไทยเป็นประเทศส่งออกอาหารอันดับต้นๆของโลก ท่ามกลางประชาชนอีกไม่น้อยที่ไร้ซึ่งความมั่นคงทางอาหาร ชนบทซึ่งเป็นฐานการผลิตเพื่อปากท้องประเทศ ถูกล่าอาณานิคมทางทรัพยากรมาช้านาน ภาวะเช่นนี้เป็นความเสี่ยงและภัยคุกคาม ที่ต้องช่วยกันตั้งรับก่อนจะสายเกินแก้
-
นายกฯสั่งด่วนตั้ง คชอ. ผู้ว่าฯรายงานสดจากพื้นที่ ธารน้ำใจหลั่งไหล
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 24 ตุลาคม 2553 เวลา 15:43 น.เขียนโดยisranewsอุทกภัยใหญ่ 30 จว. 5 แสนครัว 1.5 ล้านคน เหตุเตือนภัยล่าช้า ทั้งเมืองพานิชย์ ชนบท พื้นที่เกษตรกรรมจมน้ำ นายกฯตั้งด่วน คชอ.และศูนย์ ปสง.เยียวยา “โคราช”น้ำมูลไม่ลดเมืองยังจม เตือนภัยลุ่มน้ำภาคกลาง เจ้าพระยา ป่าสัก ลพบุรี แม่น้ำน้อย เตรียมอ่วมทั้งอยุธยา ปทุม นนท์ ธารน้ำใจไหลท่วมท้นช่วยผู้ประสบภัย
-
ปลดแอกสังคมเหลื่อมล้ำด้วย “ประชาธิปไตยชุมชน”
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 20 ตุลาคม 2553 เวลา 16:31 น.เขียนโดยโต๊ะข่าวเพื่อชุมชนการเมืองในระบบหรือประชาธิปไตยระดับชาติ อาจเป็นเรื่องไกลตัวนามธรรมสำหรับชาวบ้าน แต่การปลดหนี้ 20 ล้านที่บ้านสามขา, สภาผู้นำตำบลนาผือ, โรงเรียนสิทธิชุมชนคูหาใต้ และ การทวงคืนป่าพรุแม่รำพึงของชาวบางสะพาน และอีกหลายต้นแบบที่กระจายอยู่ทั่วประเทศ กำลังบอกว่า “ประชาธิปไตยชุมชน” คือเรื่องจริงที่สัมผัสได้ ……………………………………………………………………. หนี้ 20 ล้าน แก้ได้ที่ "บ้านสามขา" ด้วยประชาคมและแผนชุมชน ชาวบ้านสามขา ต. ...
-
“จัดสรรอำนาจใหม่ เพื่อทรัพยากรไทยยั่งยืน”
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 18 ตุลาคม 2553 เวลา 12:17 น.เขียนโดยโต๊ะข่าวเพื่อชุมชนเวทีใหญ่รับฟังความคิดเห็นประชาชนของ คปร. ที่ผ่านมาคึกคัก นอกจากกลั่นข้อเสนอแก้ปัญหาที่ดิน การศึกษา แรงงาน สร้างอำนาจชุมชน และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนเมืองแล้ว ยังมีสาระที่น่าสนใจจาก “เสวนาจัดสรรอำนาจใหม่เพื่อทรัพยากรไทยยั่งยืน”
-
คปร.ตบเท้าฟังข้อเสนอปฏิรูปนัดแรก ยันไม่ทิ้ง "เสียง ปชช." แต่ “ทำทุกเรื่องไม่ได้”
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 17 ตุลาคม 2553 เวลา 18:31 น.เขียนโดยทีมข่าวสถาบันอิศราเวทีรับฟังความเห็นปฏิรูปประเทศนัดแรกคึกคัก เปิดข้อเสนอแรงงาน-การศึกษา-ที่ทำกิน-ชีวิตคนเมือง-อำนาจชุมชน "อานันท์"ชี้อดีตล้มเหลวเพราะปฏิรูปฉาบฉวย ย้ำ “เสียงชาวบ้านคือนาย” หัวใจคือ “ลดอำนาจรัฐ” แต่ทำทุกเรื่องไม่ได้ต้องดูอำนาจในกระเป๋าก่อน
-
สมัชชา ปชต.ชุมชนเตรียมยื่น 5 ข้อเสนอนายกฯ ให้รัฐหนุนงบตำบลละแสน
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 16 ตุลาคม 2553 เวลา 18:32 น.เขียนโดยโต๊ะข่าวเพื่อชุมชนสภาพัฒนาการเมืองชี้ประชาธิปไตยชุมชนเป็นหวังเดียวแก้ความเหลื่อมล้ำ นักวิชาการต่างชาติสะท้อนความสำเร็จพลังประชาสังคม ที่ประชุมสมัชชาฯเตรียมยื่น 5 ข้อเสนอนายกฯ จัดงบตำบลละ 1 แสนหนุนประชาธิปไตยรากหญ้าทุกตำบลใน 2 ปี
-
"37 ปี 14 ตุลา" รองทีดีอาร์ไอชี้นักการเมืองใช้ประชานิยมต้นทุนต่ำแทนปราบประชาชน
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 14 ตุลาคม 2553 เวลา 19:30 น.เขียนโดยisranewsเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม ที่อนุสรณ์สถาน 14 ตุลา สี่แยกคอกวัว จัดงาน “รำลึก 37 ปี 14 ตุลา” มีการทำบุญทางศาสนา วางพวงมาลาสดุดีวีรชน โดยตัวแทนจากภาครัฐ นักสิทธิมนุษยชน นักศึกษาและชาวบ้าน และมีปาฐกาพิเศษ “ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจกับประชาธิปไตย” โดย ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ รองประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) และปัจฉิมกถา โดย ดร.นวลน้อย ตรีรัตน์ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลั ...
-
ร.ร.แก้จน...สอนคน“ปลดหนี้” ด้วยคัมภีร์ “บัญชีครัวเรือน”
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 11 ตุลาคม 2553 เวลา 15:39 น.เขียนโดยเยาวเรศ หยดพวง ศูนย์ข้อมูลข่าวสารปฏิรูปประเทศไทยรวมพล "คนปลดหนี้" จากประสบการณ์จริง เปิด "บัญชีครัวเรือน" ฉบับ สกว. ไม่ใช่แค่แก้จนแต่ทำให้คนพึ่งตัวเองได้ ความรู้จุดระเบิดภายในเป็นปฏิกิริยาลูกโซ่ รวมพลังสร้างเครือข่าย ก่อกิจกรรมสร้างสรรค์มากมาย อาทิ ธนาคารแรงงาน โรงเรียนแก้จน
-
“ทรัพยากรชีวภาพ-ภูมิปัญญา” ขุมพลังสร้างเศรษฐกิจจากฐานราก
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 05 ตุลาคม 2553 เวลา 17:41 น.เขียนโดยisranews“บ้านเรามีทรัพย์ในดิน มีสินในน้ำ” คำพูดนี้ตอกย้ำแนวคิดที่สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานทรัพยากรชีวภาพ และคนรากหญ้าที่อยู่ใกล้ชิดทรัพยากรในแต่ละท้องถิ่น ล้วนเป็นผู้ผลิตลำดับแรกๆที่สำคัญในห่วงโซ่การพัฒนา ก่อนส่งไม้ต่อไปยังเศรษฐกิจของประเทศ
-
ทางเลือก-ทางรอดของชุมชนเมื่อ “อาหารอีสาน” ถูกคุกคาม
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 01 ตุลาคม 2553 เวลา 07:52 น.เขียนโดยวิมล กิจวานิชขจร“ความไม่มั่นคงทางอาหาร” ไม่เพียงเป็นวาระชาติที่ถูกหยิบยกมากล่าวตั้งแต่เวทีวิชาการจนถึงนโยบายที่ยังไปไม่ถึงรูปธรรม ทว่ายังเป็นวาระโลกถกกันในเวทีนานาชาติ โต๊ะข่าวเพื่อชุมชนพาไปสัมผัสรูปธรรม ทั้งสถานการณ์ที่ถูกรุกคืบและการทัดทานต่อกระแสเพื่ออยู่รอดของเกษตร-ชุมชนคนอีสาน