สกู๊ป-สารคดีข่าว
-
"นโยบายเพื่อคนไทย" เสียงจากคน 14 จังหวัดใต้ ถึง "รัฐบาลยิ่งลักษณ์"
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 24 สิงหาคม 2554 เวลา 22:10 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพาชัย ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน“รัฐบาลยิ่งลักษณ์ ชินวัตร” เพิ่งจะแถลงนโยบายต่อรัฐสภา เพื่อเตรียมเดินหน้าบริหารประเทศตามแนวทางที่ประกาศไว้ แน่นอนว่าหลายประเด็นเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ และนี่คือเสียงจากคน 14 จังหวัดภาคใต้ ที่ส่งสะท้อนไปถึงรัฐบาลใหม่ว่าอะไรคือ “นโยบายเพื่อคนไทย” และแสดงพลังว่า “ประชาชนมีตัวตน”!!
-
สุรพงษ์ กองจันทึก จากเด็กค่ายอาสา สู่นักพัฒนาเพื่อสิทธิ
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 24 สิงหาคม 2554 เวลา 17:04 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพาชัย ศูนย์ข่าวชุมชน"อุดมการณ์เพื่อสังคม" อาจเป็นความฝันลึกๆ ที่อยู่ในใจคนวัยหนุ่มสาวเกือบทุกยุคสมัย แต่เมื่อวันเวลาผ่านเลยไปอาจมีเงื่อนไขอื่นๆ เข้ามาจนทำให้ทางเดินชีวิตเปลี่ยน ดังคำกล่าวที่ว่า อุดมการณ์และความฝันมักหล่นหายไปตามกาลเวลา
-
“ระบบการศึกษาและครอบครัวไทย” ตัดโอกาส “เด็กจน” ต่อมหา’ลัย
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 18 สิงหาคม 2554 เวลา 16:23 น.เขียนโดยดร.ดิลกะ ลัทธพิพัฒน์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทยแม้ว่านโยบายเรียนฟรี และเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษาจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำในการเรียนต่อในระดับ มัธยมปลาย แต่หลักฐานที่ผ่านมากลับชี้ชัดว่ามีเด็กยากจนจำนวนน้อยมากที่สามารถก้าวผ่าน เข้าไปเรียนในระดับอุดมศึกษาได้ ดังนั้นการอุดหนุนค่าเล่าเรียน และการอุดหนุนอื่นๆจึงให้ประโยชน์กับเด็กจากครอบครัวที่มีฐานะดีมากกว่าเด็กยากจนอย่างปฏิเสธไม่ได้
-
16 ปี จาก “ประเวียน” ถึง “ทองนาค” : อิทธิพลมืดปลิดชีพแกนนำชาวบ้าน
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 08 สิงหาคม 2554 เวลา 18:50 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพาชัย ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนจากปี 2538 ที่กระสุนปืนปลิดชีพ "ครูประเวียน" มีอีกหลายชีวิตนักต่อสู้ชาวบ้านที่ดับลงจากอิทธิพลมืด ล่าสุด 28 ก.ค.54 คือชีวิตของ "ทองนาค"… กว่า 2 ทศวรรษการต่อสู้เพื่อปกป้องสิทธิชุมชนในกรณีต่างๆ มีแกนนำชาวบ้านถูกสังหารไม่น้อยกว่า 28 ชีวิต …
-
4 นักเศรษฐศาสตร์ วางกรอบ “ประชานิยมที่พึงประสงค์”
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 04 สิงหาคม 2554 เวลา 22:37 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพาชัย ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน“ความเหลื่อมล้ำทางสังคม-ความยากจนเชิงโครงสร้าง” ถูกหยิบยกมากล่าวทุกรัฐบาล ตามด้วยนโยบายแก้ปัญหาที่ถูกวิจารณ์ว่าฉาบฉวยหวังผลการเมือง รวมทั้งบรรดา “ประชานิยม”ว่าที่รัฐบาลใหม่ วงอภิปราย “ประชานิยมอย่างไร เศรษฐกิจไทยจึงจะแข็งแกร่ง” โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ มี 4 มือเศรษฐศาสตร์มาช่วยกันชี้ทางออกอีกครั้ง
-
“สุขภาวะดีไม่มีขาย” อยากได้ต้องช่วยกัน “สร้างนโยบายสาธารณะ”
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 14 กรกฎาคม 2554 เวลา 16:19 น.เขียนโดยวิมล กิจวานิชขจร ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนโรงพยาบาลในฝัน, หมอเปื่ยมอุดมการณ์, 30 บาทรักษาโรค, สิทธิรักษาเท่าเทียมของประกันสังคม บรรดาที่เราต่างเรียกร้อง-ผลักดัน-รอคอย จนลืมว่าสุขภาพกาย-ใจ-สังคม-ปัญญาหรือ “สุขภาวะ” สร้างเองได้ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา พาไปพบคำตอบจากคนสงขลา ชาวนาพัทลุง และยุติธรรมชุมชน…
-
“เลิกเอาไม้บรรทัดวัดคุณภาพการศึกษา” แล้วจะพบทางออกโรงเรียนเล็ก
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 03 กรกฎาคม 2554 เวลา 13:51 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพ์พาชัย ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน“คุณภาพ ประสิทธิภาพ การจัดการที่เหมาะสม” คือโจทย์ที่กระทรวงศึกษาฯ ทิ้งไว้ให้บรรดาคนค้านนโยบายยุบโรงเรียนเล็ก เสียงสะท้อนจากครู-ผู้ปกครอง-นักเรียนแดนกันดารเป็นเช่นไร อะไรคือคำตอบที่ชุมชนท่าสะท้อน ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา พาไปเปิดประเด็นอีกครั้ง…
-
จาก “ทวิลักษณ์การพัฒนา” สู่ “ข้อเสนอปฏิรูปเกษตรกรรมไทย”
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 01 กรกฎาคม 2554 เวลา 09:38 น.เขียนโดยวิฑูรย์ เลี่ยนจำรูญ มูลนิธิชีววิถี / ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน เรียบเรียงทำไมไทยส่งออกอาหารอันดับต้นของโลก แต่เกษตรกรส่วนใหญ่คุณภาพชีวิตตกต่ำ มาร่วมกันมองต้นตอของบรรดาปัญหา และร่วมผลักดันปัจจัยกำหนดอนาคตใหม่เกษตรกรไทย บนวิถีความมั่นคงทางอาหารและการพึ่งพาตนเอง ตั้งแต่ระดับชุมชน ถึง ประเทศ!...
-
“ดร.สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์” วิพากษ์ “ประชานิยมเพื่อผู้ใช้แรงงาน” ...ทำได้จริงหรือ!
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 27 มิถุนายน 2554 เวลา 15:32 น.เขียนโดยดร.สราวุธ ไพฑูรย์พงษ์ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย“ขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 25 % ในเวลา 2 ปี หรือเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำวันละ 300 บาท หรือ เงินเดือนปริญญาตรี 15,000 บาท และประเทศนี้ต้องไม่มีคนว่างงาน (กองทุนจ้างงาน 1 ล้านตำแหน่ง) ฯลฯ” เป็นตัวอย่างนโยบายประชานิยมที่พรรคการเมืองนำเสนอหวังขอคะแนนเสียงจากกลุ่มผู้ใช้แรงงานในการเลือกตั้งที่จะมาถึง 3 ก.ค.นี้
-
“ภัยพิบัติไทย” นักวิชาการเตือน อย่าหลงลืมยามสงบ
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 24 มิถุนายน 2554 เวลา 15:05 น.เขียนโดยธิดามนต์ พิมพาชัย ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนดูจะเป็นเรื่องปกติอย่างน่าระอา ที่ต้องรอให้เจอโศกนาฏกรรมจึงจะหลั่งน้ำตารับภัยพิบัติ แต่ยามสงบเรามักไม่ขมีขมันเตรียมพร้อมกันเท่าไร แต่ในด้านมุมที่น่าชื่นชมคือความเคลื่อนไหวของภาคประชาชนเรื่องการรับมือภัยพิบัติชาติ และนักวิชาการที่ยังคงขยันออกมาส่งเสียงเตือน “ไม่ให้หลงลืม”