วช. วิเคราะห์ 6 จุดอ่อนที่ส่งผลให้เส้นกราฟผู้ติดเชื้อโควิด-19 ของสิงคโปร์ พุ่งแซงประเทศในกลุ่มอาเซียน ทั้งหอพักคนงานต่างชาติ -คนกลับมาจากต่างประเทศ -ไม่ปฏิบัติตามกฎ Social Distancing - บ้านพักคนชราเสี่ยงป่วยหนัก - ศูนย์เลี้ยงเด็กเล็ก รร.เตรียมอนุบาล เด็กเป็นพาหะของโรคที่ไม่แสดงอาการ และที่สำคัญ 20% พนง.ในสิงคโปร์ ยังคงต้องทำงาน
การเปลี่ยนผ่านจากมาตรการกึ่งล็อกดาวน์ ไปสู่มาตรการสร้างเสถียรภาพ ควรต้องเตรียมตัวและให้มั่นใจว่า มาตรการที่สําคัญยังคงอยู่ ไม่เปลี่ยนผ่านแบบรวดเร็ว ควรเริ่มจากจังหวัดกลุ่มแรกที่ไม่พบผู้ป่วย 'โควิด' ใน 2 สัปดาห์ที่ผ่านมา เริ่มได้ต้นเดือนพฤษภาคม หรืออาจนําร่องทดลองปลายเดือนเมษายน 3-4 จังหวัด หลังจากนั้นจึงเริ่มในกลุ่มจังหวัดที่พบผู้ป่วยติดเชื้อในพื้นที่แบบประปราย
วช.เปิดไทม์ไลน์ โรคโควิด-19 ตั้งแต่พบรายงานครั้งแรก 13 มกราคม ถึงวันนี้ คนไทยจะเห็นชัดว่า แนวโน้มผู้ป่วย COVID-19 ของบ้านเรา เมื่อเทียบกับประเทศในอาเซียนด้วยกัน กราฟนับได้ว่า อยู่ในเกณฑ์ดี ขอเพียงอย่าเพิ่งผ่อนปรนมาตรการใดๆ เร็วเกินไปนัก
วิเคราะห์ความก้าวหน้าโควิด-19 เน้นภูมิภาคอาเซียน พบฟิลิปปินส์มีผู้ติดเชื้อ อันดับ 1 -ไทยอันดับ 5 ส่วน 'สิงคโปร์' ประชากรน้อยกว่าไทย กลับมีผู้ป่วยสูงกว่า จุดเปลี่ยน 'เวียดนาม' คุมสถานการณ์ได้ ประกาศเป็นโรคร้ายเเรง ตั้งเเต่พบติดเชื้อ 20 ราย ศ.ดร.นพ.ประสิทธิ์ ย้ำต้องรักษาระยะห่าง ล้างมือ สวมหน้ากาก ผู้สูงอายุ -ป่วยระบบทางเดินหายใจ เลี่ยงออกจากบ้าน
"กรณีจังหวัดภูเก็ตที่พบผู้ป่วยติดเชื้อโควิด – 19 จำนวน 500 คนนั้น ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องตรวจหาเชื้อประชากรทุกคนในจังหวัด ผู้ที่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงหรือไม่ได้มีความใกล้ชิดกับผู้ป่วยติดเชื้อยืนยันนั้น ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องเข้ารับการตรวจหาเชื้อ ดังนั้น ประเทศไทยเราทำอย่างประหยัด ขีดให้เหมาะสม ก็สามารถตรวจเจอผู้ติดเชื้อได้"
รัฐบาลฝรั่งเศส ออกมาตรการเพิ่มเติมให้ความช่วยเหลือผู้ไร้ที่อยู่อาศัย จำนวน 60,000 ราย ครึ่งหนึ่งอยู่บริเวณแคว้น Ile-de-France โดยจะแจกคูปอง วันละ 7 ยูโรต่อคน เป็นงบประมาณ 15 ล้านยูโร สามารถนำไปแลกซื้ออาหารและสินค้าจำเป็นอื่น ๆ ได้ ที่จุดรับแลกคูปองกว่า 220,000 จุดทั่วประเทศ
อยู่บ้าน อยู่ห่าง อยู่รอด "เว้นระยะห่างทางสังคม" มาตรการป้องกันโควิด-19 กับเป้าหมายชวนคนไทยร่วมมือให้ถึง 80% หวังลดการระบาด ทำได้จริง 15 เม.ย. จะมีผู้ป่วยสะสมเพียง 7,745 ราย
สำรวจพฤติกรรมเว้นระยะห่าง (Social Distancing) พบว่า คนไทยหลีกเลี่ยงการไปพื้นที่แออัด ทำประจำอยู่ที่ 71.1% หลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้ชิด อยู่ห่าง 2 เมตร ทำประจำอยู่ที่ยังอยู่แค่ 67.9%
ผู้ป่วยจะมีอาการรุนแรงเมื่อมีโรคประจำตัวร่วมด้วย ทั้งความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคปอดอักเสบเรื้อรังบางชนิด ซึ่งจะพบมากผู้ชายทั่วโลก เป็นโรคประจำตัวเหล่านี้มาก
วิเคราะห์กลุ่มเสี่ยงโควิด-19 พบอายุน้อยสุด 6 เดือน มากสุด 84 ปี เฉลี่ย 40 ปี อาการหนักส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ สธ.เผยต้นเหตุติดจากคนอายุน้อย พาเชื้อเข้าบ้าน วอนกลับตจว.ให้เเยกตัว