สธ.เวียดนามออกแถลงการณ์แจงตอนนี้ไม่มีผลข้างเคียงลิ่มเลือดจากวัคซีนแอสตร้าเซนเนก้าแล้ว อ้างข้อมูล WHO ยืนยันวัคซีนมีประสิทธิภาพ เผยขณะนี้ไม่มีวัคซีนเหลือแล้ว ขณะเว็บไซต์แอสตร้าเซนเนก้าเผยเวียดนามใช้วัคซีนแอสตร้าเซนเนก้าผลิตจากโรงงานในประเทศไทย
ทีมแพทย์สหรัฐฯเชื่อโควิดโอไมครอน XBB.1.16 ระบาดมากกว่าโอไมครอนสายพันธุ์ดั้งเดิม 20 % ส่งผลกระทบมากในเด็ก คาดในอนาคตอาจเป็นโรคเฉพาะกลุ่มเด็กได้ แต่เชื้อไวรัสป้องกันโควิดรุ่นใหม่มีศักยภาพสามารถรับมือโควิดได้
IQAir เผยรายงานค่าอากาศโลกปี 2565 พบมีแค่ 13 ประเทศเท่านั้นมีค่าอากาศดีต่อสุขภาพตามหลัก WHO ขณะไทยติดอันดับ 57 มลพิษเยอะที่สุดในโลก ค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ 18.1 ไมโครกรัม 'ถลาง' มลพิษน้อยสุด 8.7 ไมโครกรัม
WHO ยอมรับสถานการณ์ไข้หวัดนกในกัมพูชาน่ากังวลหลังเหตุเด็กผู้หญิงเสียชีวิต พ่อเด็กติดเชื้อร่วมกับผู้ป่วยรวม 11 คน รับตอนนี้ต้องเข้าไปสืบสวน เผยยังไม่มีความชัดเจนว่าสามารถแพร่เชื้อจากมนุษย์สู่มนุษย์ได้หรือไม่
นักวิทย์ฯประกาศพบโควิดสายพันธุ์ใหม่ออทรอส มีศักยภาพกลายพันธุ์เหมือนเดลต้า เอาชนะได้ทุกวัคซีน ณ เวลานี้ พบระบาดแล้ว 66 ประเทศรวมถึงที่ไทยด้วย
จีนเผยตัวเลขผู้เดินทางตรุษจีนปี 66 มากกว่าปีที่แล้ว 74 เปอร์เซ็นต์ พบผู้เดินทางระหว่างประเทศ 2.88 ล้านเที่ยว ทั้งขาเข้า-ออก ขณะศูนย์ควบคุมโรคจีนยันตัวเลขเสียชีวิตอยู่ในขาลงแล้ว แม้จะถูกวิจารณ์ไม่ยอมนับผู้เสียชีวิตจากโควิดที่บ้าน
ศุลกากรฮ่องกงจับผู้ต้องหาชาวฮ่องกง 2 คน เดินทางกลับจากไทย ลักลอบขนยาต้านโควิดอินเดีย 9,000 เม็ด หวังขายในจีนแผ่นดินใหญ่ พบปัจจุบันยาโมลนูพิราเวียร์-แพกซ์โลวิดขายในตลาดมืดราคาพุ่งแปดเท่า หลังมีข่าวจีนเสียชีวิตจากโควิดเดือนเดียวกว่า 60,000 ราย
หน่วยงาน สธ.สหรัฐฯ เผยรายงานฐานข้อมูล พบกลุ่ม ปชช.อายุเกิน 65 ปีที่ได้รับวัคซีนตัวใหม่ของไฟเซอร์มีความเสี่ยงเป็นโรคเส้นเลือดสมองตีบมากขึ้น แจงยังไม่พบหลักฐานชัดเจนเกี่ยวข้องวัคซีนหรือไม
ได้รายงานผู้ป่วยเด็ก 1 ราย ซึ่งเข้ารับการรักษาด้วยอาการ cardiogenic shock และ mitral insufficiency จากการตรวจทางห้องปฏิบัติการพบว่าผู้ป่วยมีการติดเชื้อ M. pne umoniae และสาเหตุของ mitral insufficiency เกิดจาก การมี papillary muscle dysfunction จากการมีทำลายต่อ กล้ามเนื้อหัวใจ ดังนั้นในผู้ป่วยที่มีอาการของหัวใจวายเฉียบพลันร่วมกับ mitral insufficiency จําเป็นต้องคิดถึงสาเหตุ จากการติดเชื้อ M. pneum ...
แม้แต่สายพันธุ์ที่ดูเหมือนว่าไม่ก่อให้เกิดคลื่นลูกใหญ่ในพื้นที่ต้นกำเนิด สายพันธุ์ที่ว่านี้ก็อาจจะกระจายไปได้ทั่วโลกและทำให้เกิดคลื่นการระบาดที่อื่นแทนได้ ตัวอย่างเช่นโควิดโอไมครอนสายพันธุ์ BF.7 ที่ประเทศจีน ณ เวลานี้ และพวกมันเมื่อเคลื่อนที่ไปที่อื่นแล้วก็อาจจะไปรวมตัวกับสายพันธุ์อื่นๆอีก เช่น BF.7 อาจจะไปรวมตัวกัน XBB หรือว่า XBB.1.5 ในสหรัฐฯอีกก็เป็นไปได้เช่นกัน