มีผลการเลือกตั้งจากสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่ไม่ควรมองข้าม เพราะน่าจะทำให้เห็นทิศทางของคะแนนนิยม ซึ่งอาจส่งผลต่อโฉมหน้าการเมืองของพื้นที่แห่งนี้ในระยะต่อไป
ผลการนับคะแนนเลือกตั้ง ส.ส.อย่างไม่เป็นทางการ ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ) จากเว็บไซต์ของ กกต. ที่นับเสร็จสิ้นไปแล้ว 80 เปอร์เซ็นต์ ณ เวลา 00.00 น.วันที่ 15 พ.ค.66 (เฉพาะที่ได้คะแนนอันดับ 1) รวม 13 เขตเลือกตั้ง มีดังนี้
สรุปเหตุการณ์ความไม่สงบในช่วงเวลา 22.00 น.- 23.00 น.ของวันที่ 11 พ.ค.66 ที่กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบไม่ทราบกลุ่มและจำนวนได้ก่อเหตุก่อกวนด้วยการลอบวางเพลิงเผาเสาสัญญาณโทรศัพท์และเสาไฟฟ้าในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ รวม 23 จุด ตามรายละเอียดดังนี้
กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค 4 สน.) ได้จัดทำเอกสารข่าวสรุปเหตุรุนแรงช่วง 10 วันสุดท้ายของเดือนรอมฎอน
เหตุการณ์ความไม่สงบในห้วงเดือนรอมฎอนปีนี้ส่งผลทางจิตวิทยาค่อนข้างสูง เพราะตรงกับช่วงเทศกาลสงกรานต์พอดี
วันที่ 3 เม.ย.66 วันแรกของการเปิดรับสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) แบบแบ่งเขตทั่วประเทศ โดยที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ บรรยากาศคึกคัก เข้มข้นไม่แพ้จังหวัดอื่น
รัฐบาลเตรียมขยายเวลาการบังคับใช้ “พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ” ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ต่อไปอีก 3 เดือน นับเป็นการต่ออายุครั้งที่ 71 นับตั้งแต่เริ่มประกาศครั้งแรกเมื่อเดือน ก.ค.2548
“นิด้าโพล” เผยผลสำรวจคนชายแดนใต้ ยังหนุน “บิ๊กตู่” นั่งเก้าอี้นายกฯ ต่อไป ขณะที่พรรคที่มีแนวโน้วจะได้รับเลือก ส.ส.แบบแบ่งเขตมากที่สุดคือ “ประชาชาติ” ส่วนบัญชีรายชื่อเป็นของ “เพื่อไทย” ขณะที่ประชาธิปัตย์ รวมไทยสร้างชาติ เริ่มหายใจรดต้นคอ ด้านพรรคการเมืองที่หวังกวาดเก้าอี้ ส.ส.ส่วนใหญ่ที่ปลายขวาน ติงผลโพลสำรวจสัดส่วนคนพุทธมากเกิดสัดส่วนประชากรจริง อาจทำให้คลาดเคลื่อน
มีเหตุรุนแรงอีกครั้งที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นเหตุลอบวางระเบิดครั้งรุนแรงที่ทำให้เจ้าหน้าที่ตำรวจเสียชีวิต และได้รับบาดเจ็บหลายนาย
หลายคนตั้งข้อสังเกตว่า นับตั้งแต่เปิดศักราช พ.ศ.2566 เป็นต้นมา มีความพยายามก่อเหตุรุนแรงของกลุ่มกองกำลังติดอาวุธในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มากขึ้น