ศูนย์ปฏิบัติการตำรวจแห่งชาติส่วนหน้า (ศปก.ตร.สน.) ได้สรุปรายงานเหตุการณ์ความไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่ 01.00 น.ของวันที่ 22 มี.ค.66 โดยไล่เรียงตามลำดับเวลาในการรับแจ้งเหตุรวม 15 เหตุการณ์ ดังนี้
“ทีมข่าวอิศรา” สรุปสถิติเหตุการณ์ความไม่สงบ ที่สรุปเบื้องต้นแล้วว่าเป็นเหตุความมั่นคง ในห้วงเวลา 1 เดือนก่อนเข้าสู่เดือนรอมฎอน
เดือนกุมภาพันธ์ เป็นเดือนแห่งความรัก และยังเป็นเดือนที่คณะพูดคุยสันติสุขดับไฟใต้นัดหารือกัน เมื่อวันที่ 6-7 ก.พ.67
แม้ว่า พ.ร.บ.ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 8 ) พ.ศ.2564 ได้ปลดพืชกระท่อมออกจากบัญชียาเสพติด และต่อมาเมื่อมีการประกาศใช้ประมวลกฎหมายยาเสพติด พืชกระท่อมก็ไม่ได้มีสถานะเป็นยาเสพติด
“ทีมข่าวอิศรา” เกาะติดปัญหาของโครงการ “โคบาลชายแดนใต้” มาหลายวัน จนกลายเป็นประเด็นสาธารณะ ผู้เกี่ยวข้องเปิดตัวออกมาชี้แจงหมดแล้ว ทั้งรัฐมนตรี หน่วยงาน และภาคเอกชน
คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉิน เตรียมเสนอ ครม.ต่ออายุ “พ.ร.ก.ชายแดนใต้” ไปอีก 3 เดือน ยาวไปถึง 19 เม.ย.67 ชงยกเลิกเพิ่ม 2 อำเภอ “ปะนาเระ–รามัน” รวมงดใช้กฎหมายพิเศษยาแรง 15 อำเภอ เหลืออีก 18 อำเภอลุ้นต่อไป
การประกาศลงพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ และเตรียมนอนพักค้างแรมช่วงปลายเดือน ก.พ.2567 ของ นายกฯเศรษฐา ทวีสิน ต้องบอกว่าไม่ใช่นายกฯคนแรกที่ทำแบบนี้
4 มกราคม 2567 เป็นวันครบรอบ 20 ปีเหตุการณ์ปล้นปืนครั้งมโหฬารที่สุดครั้งหนึ่งของเมืองไทย
ได้ฤกษ์เข้าสภาวาระแรกแล้ว สำหรับร่าง พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567 ซึ่งถือว่าล่าช้าไปหลายเดือน
มหาดไทยคลอดคำสั่ง “โยกย้าย – แต่งตั้ง – โอนย้าย” รองผู้ว่าราชการจังหวัด รวม 109 ตำแหน่ง ขณะที่ 5 จังหวัดชายแดนใต้ได้รองพ่อเมืองใหม่ 9 ราย ย้ายออก 1 ราย ฮือฮา “วิชาญ ชัยเศรษฐสัมพันธ์” อดีตนายอำเภอรือเสาะที่ถูกปลุกม็อบไล่ออกนอกพื้นที่ ขยับขึ้นเป็นรองผู้ว่าฯเมืองหมูย่าง “ตรัง”