จากปัญหายาเสพติดและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยเฉพาะโศกนาฏกรรมใหญ่ 2 ครั้งหลังสุด คือ ที่โคราช และหนองบัวลำภู ทั้งยังมีข่าวร้ายรายวันสืบเนื่องจาก 2 ปัญหานี้จนสังคมแทบจะชาชิน
เหตุกราดยิงที่โคราชเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2563 สร้างความตกตะลึงแก่คนไทยทั้งประเทศอยู่ไม่น้อย เพราะเป็นการสังหารหมู่แบบปฏิบัติการคนเดียวครั้งใหญ่ที่สุดเท่าที่เคยเกิดขึ้นในเมืองไทย และประเทศไทยเองก็ไม่เคยเกิดเหตุการณ์กราดยิงในลักษณะนี้มาก่อน
“โศกนาฏกรรมเกือบทุกเรื่องในสังคมไทย ยาเสพติดคือหนึ่งในเงื่อนไขจริงๆ”
สารพัดคำวิจารณ์หลังศาลรัฐธรรมนูญต่อตั๋วให้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ไปต่อบนเก้าอี้นายกฯ
“อย่างที่โต๊ะเด็ง (อ.สุไหงปาดี จ.นราธิวาส) จากที่เคยมีคนพุทธ 14 ครัวเรือน ตอนนี้เหลือแค่ 3 แล้วใน 3 มันก็จะมีแค่ผู้สูงอายุอยู่หลังละคนสองคน ทำให้เห็นเลยว่า มันมีความถดถอยเยอะมาก และถ้าเราไม่ได้แก้ ต่อไปก็จะหมดสามจังหวัด อาจจะไม่มีคนพุทธเหลืออยู่แล้ว”
แม้ท่าทีของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องจะพยายามจบปัญหาข้อสงสัยการรับราชการและช่วยราชการสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของ “สิบตำรวจโทหญิง” ว่าเป็นความผิดเฉพาะตัว
กระแสวิจารณ์กองทัพดังกระหึ่มอีกครั้งจากกรณี “ส.ต.ท.หญิง” ทำร้าย “ส.ท.หญิง”
“โคแฟค” จับมือเครือข่ายสื่อมุสลิมเชียงใหม่ จัดเสวนาค้นหาความจริง พร้อมนำเสนอแนวทางรับมือข่าวลวง “อิสลามโมโฟเบีย” พบคนไทยกว่าร้อยละ 40 ทั้งเชื่อและช่วยแชร์ข่าวปลอมในสื่อสังคมออนไลน์โดยขาดการกลั่นกรอง
“สิ่งที่เห็น อาจไม่ใช่สิ่งที่เป็น” คือคำเตือนจากกูรูความมั่นคง เวลามองหลายๆ ปัญหาที่มีความซับซ้อน โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับความขัดแย้ง การเผชิญหน้า และการท้าทายอำนาจ
การเดินทางเยือนไต้หวันของ แนนซี เพโลซี ประธานสภาผู้แทนราษฎรของสหรัฐ โดยไม่สนใจเสียงทักท้วงใดๆ ได้ปลุกสถานการณ์การเมืองระหว่างประเทศให้ร้อนระอุ