กลายเป็นประเด็น “แตกฮือ” สำหรับข้อเสนอ “ประชามติแยกดินแดน” ที่ประกาศกันชัดๆ โต้งๆ กลางงานเปิดตัว “ขบวนนักศึกษาแห่งชาติ” หรือ Pelajar Kebangsaan Patani หรือ Pelajar Bangsa ที่คณะรัฐศาสตร์ ม.อ.ปัตตานี เมื่อวันพุธที่ 7 มิ.ย.66
ปัญหาการบังคับใช้ “พ.ร.บ.อุ้มหาย-ทรมานฯ” ยังคงมีอยู่อย่างต่อเนื่อง ภายหลังศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่า การที่รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ ตราพระราชกำหนดเลื่อนการบังคับใช้กฎหมายออกไป 4 มาตราสำคัญเป็นการตราพระราชกำหนดที่ไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ถือว่าไม่มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ต้น
คำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญที่ชี้ขาดว่า พระราชกำหนด (พ.ร.ก.) ที่ให้เลื่อนการบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการอุ้มหาย-ซ้อมทรมาน ใน 4 มาตราสำคัญ (มาตรา 22-25) ออกไปเป็นวันที่ 1 ต.ค.66 เป็นการตรา พ.ร.ก.โดยมิชอบด้วยรัฐธรรมนูญนั้น
ยังคงพูดกันไม่จบสำหรับความสำเร็จของพรรคก้าวไกลในการเลือกตั้งครั้งที่เพิ่งผ่านไปสดๆ ร้อนๆ
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (ตร.) คลอดแนวปฏิบัติ ภายหลัง พ.ร.บ.ป้องกันการอุ้มหาย-ซ้อมทรมาน มีผลบังคับใช้ทันที เพราะการออกพระราชกำหนด (พ.ร.ก.) เพื่อยืดเวลาการบังคับใช้ 4 มาตราสำคัญออกไปอีก 120 วัน เนื่องจากจัดหาอุปกรณ์กล้องบันทึกภาพและเสียงไม่ทันนั้น ศาลรัฐธรรมนูญชี้ว่าเป็นการตรา พ.ร.ก.โดยไม่ชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
กลายเป็นประเด็นทางกฎหมายตามมา หลังศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 8 ต่อ 1 ชี้ชัดว่า พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายอุ้มหาย-ซ้อมทรมาน ไม่มีผลบังคับใช้ “พ.ต.อ.วิรุตม์” หวั่นคดีเกิดหลัง 22 ก.พ.66 เปิดช่อง “มืออุ้ม-นักซ้อม” สู้คดีได้ ญาติ “อับดุลเลาะ อีซอมูซอ” เร่งผลักดันใช้จริงในพื้นที่อย่างเข้มงวด ด้านทหารชายแดนใต้เผยทุกวันนี้เหตุซ้อมทรมานแทบไม่มีเหลือแล้ว
ปัจจัยที่มองข้ามไม่ได้เลยของการเลือกตั้งทั่วไปในประเทศไทย วันที่ 14 พ.ค.66 นี้ ก็คือบทบาทของต่างชาติ โดยเฉพาะชาติมหาอำนาจที่จะส่งผลทางใดทางหนึ่งต่อการเลือกตั้ง และพรรคการเมืองที่จะเข้ามาควบคุมอำนาจรัฐในระยะต่อไป
การติดตามข่าวสารเกี่ยวกับการเลือกตั้ง ไม่ได้ทำให้เรารับรู้ข้อมูลของพรรคการเมืองที่เสนอตัวเป็นทางเลือกให้ประชาชนมากขึ้นเท่านั้น
การเลือกตั้งปี 66 แม้จะเป็นการเลือกตั้งใหญ่ครั้งที่ 2 หลังการรัฐประหารปี 57 แต่บรรยากาศกลับแตกต่างจากปี 62 ซึ่งเป็นการเลือกตั้งครั้งแรกอย่างสิ้นเชิง
พันธ์ศักดิ์ อาภาขจร ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร ไขปริศนาทำไมพรรคการเมืองจึงนิยมหาเสียงกับ “ตัวเลข” ไม่ว่าจะเป็น “แจกเงิน 10,000 - ค่าแรง 600 - ป้อม 700” หรือแม้แต่ “บัตรสวัสดิการพลัส 1,000 บาท”