สกู๊ป-สารคดีข่าว
-
สตง.สอบ สปสช. เกมการเมืองเปลี่ยนขั้วอำนาจองค์กรหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ?
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 23 ธันวาคม 2554 เวลา 13:45 น.เขียนโดยศูนย์่ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรานโยบายรื้อฟื้นเก็บเงิน 30 บาทรักษาทุกโรคของ รมว.สธ.ใหม่ในรัฐบาลยิ่งลักษณ์ 4 เดือนยังไม่ชัดเจน แต่เผือกร้อนสุดที่โดนโยนลง สปสช.หนีไม่พ้นการเข้ามาตรวจสอบของ สตง. ที่สั่นสะเทือนเก้าอี้เลขาฯ และช่างสอดรับกับการเปลี่ยนขั้วอำนาจใหม่ในองค์กรหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
-
ถอดบทเรียน “คนหลังไมค์” ต่อลมหายใจวิทยุชุมชน
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 19 ธันวาคม 2554 เวลา 14:08 น.เขียนโดยกสานติ์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราเบื้องหลังเสียงที่ก้องออกจากหน้าปัดคลื่นวิทยุ คือ “คนหลังไมค์” ที่ไม่ได้มีอยู่เฉพาะคลื่นกระแสหลัก แต่ยังรวมถึงสื่อท้องถิ่นอย่าง “วิทยุชุมชน” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งต่อการรับรู้ข่าวสารของชาวบ้าน
-
“ภาคเกษตรกรรมหลังน้ำลด” กับการเยียวยาที่อ่อนด้อยของรัฐ
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 08 ธันวาคม 2554 เวลา 19:00 น.เขียนโดยกสานติ์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนการเยียวยาภาคเกษตรกรรมหลังน้ำลด ข้อเสนอเก็บภาษีน้ำท่วม การฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายรัฐบริหารน้ำพลาด ไปถึงไหนอย่างไร? ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา รายงานจากเวทีสัมมนา “การฟื้นฟูภาคเกษตรกรรมและเกษตรกรรายย่อยฯ"…
-
ความหวังสื่อรากหญ้า “วิทยุชุมชนไทย” ในกระแสทุน
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 01 ธันวาคม 2554 เวลา 18:37 น.เขียนโดยกสานติ์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนเร็วๆนี้ กสทช.ไฟเขียวต่อใบอนุญาตชั่วคราวยืดลมหายใจวิทยุชุมชน 6,001 สถานี ระหว่างรอแผนแม่บทจัดสรรคลื่นคลอดปีหน้า… “สื่อรากหญ้าของชุมชน โดยชุมชน เพื่อชุมชน ไม่มีโฆษณา” จะดำรงอยู่อย่างไรในกระแสทุน ไปฟังทัศนะที่น่าสนใจ
-
จากฝันที่ไม่เป็นจริงของชาว “บางระกำโมเดล” ถึงการจัดการน้ำแห่งชาติ
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 23 พฤศจิกายน 2554 เวลา 15:17 น.เขียนโดยชินวัฒน์ สิงหะ อาสาสมัครศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา“วันนี้คนภายนอกมองว่าบางระกำโมเดลเดินหน้าแล้ว คนบางระกำสบายแล้ว จริงๆมีชาวบ้านอีกเยอะที่ยังไม่ได้รับความช่วยเหลือ… ถ้ารับฟังปัญหาจากผู้เดือดร้อนข้างล่างจริงๆนำไปเป็นนโยบาย จะตรงใจแก้ไขปัญหาได้ แต่ถ้าอย่างที่เป็นอยู่อีก40 ปีข้างหน้าน้ำก็จะท่วมเหมือนเดิม แม้จะมีบางระกำโมเดล” ในสถานการณ์น้ำทะลักกรุงเทพฯ เสียงสะท้อนของชาวบ้านบางระกำในวันนี้น่ารับฟังขบคิดยิ่งนัก!
-
“ถอดบทเรียนภัยพิบัติด้ามขวาน” ย้อนมองรัฐกู้อุทกภัยภาคกลาง
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 21 พฤศจิกายน 2554 เวลา 09:33 น.เขียนโดยกสานติ์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชนนี่คือเสียงสะท้อนจากการเฝ้ามองภาครัฐหยิบยื่นความช่วยเหลือให้ผู้ได้รับความเดือดร้อนจากน้ำท่วมภาคกลาง พร้อมข้อเสนอแนะอย่างตรงไปตรงมาของเครือข่ายผู้ประสบภัยภาคใต้....
-
“สิ่งที่ต้องการจากอนาคตประเทศใหม่” เสียงสะท้อนจากภาคประชาสังคม
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 16 พฤศจิกายน 2554 เวลา 19:28 น.เขียนโดยณัฐดนัย ใหม่ซ้อน,กสานติ์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราหลังจากรัฐบาลประกาศตั้ง “คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อการฟื้นฟูและสร้างอนาคตประเทศ” (กยอ.) ที่มี ดร.วีรพงษ์ รามางกูร อดีตขุนคลัง เป็นหัวเรือ “คณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารทรัพยากรน้ำ” ( กยน.) นำโดย ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล โดยวาดฝันตอบโจทย์กู้วิกฤตฟื้นฟูประเทศ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา สะท้อนสิ่งที่ภาคประชาสังคมต้องการเห็น
-
“เครือข่ายองค์กรชุมชน” ความหวังในการจัดการภัยพิบัติไทย
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 09 พฤศจิกายน 2554 เวลา 15:16 น.เขียนโดยอุดมศรี ศิริลักษณาพร สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)ภาพการจัดการภัยพิบัติที่เราเห็นกันจนชินตาในสื่อมวลชน คือประชาชนมายืนรอรับของยาวเหยียด มาเรียกร้องต้องการทุกอย่าง มาพังทลายคันกั้นน้ำ ฯลฯ ในขณะที่ภาพผู้บริจาคทั้งหลายสง่างามอย่างยิ่ง แต่ภาพพจน์โดยรวมของ “ประชาชน” คือผู้รอรับการช่วยเหลือ ผู้ร้องขอ ผู้ตกเป็นเหยื่อ ผู้ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ ฯลฯ
-
เปิด “มาตรการภาครัฐ” อุ้มแรงงาน-เกษตร-อุตฯ เยียวยาผู้ประสบภัย
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 04 พฤศจิกายน 2554 เวลา 17:19 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราผลกระทบจากมหาอุทกภัย 2554 ทำให้ทางหลวง 535 สายจมน้ำ พื้นที่ปลูกข้าวถูกทำลาย 12% ปริมาณส่งออกข้าว พ.ย.จะหายไป 5 แสนตัน โรงงานในนิคมอุตสาหกรรมมากกว่า 1.48 หมื่นแห่งได้รับผลกระทบแล้ว ส่วนเงินเฟ้อ ต.ค.สูงขึ้น 4.19% เป็นผลจากราคาอาหารที่สูงขึ้น 9.86% นักเศรษฐศาสตร์ต่างประเทศประเมินผลกระทบน้ำท่วมไทยจะเสียหายหนักมากกว่า 3 แสนล้านบาท
-
“คนไทยจะสู้ชีวิตอย่างไร?” ช่วงน้ำท่วม-หลังน้ำลด- ข้าวยากหมากเเพง
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 03 พฤศจิกายน 2554 เวลา 15:42 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราใช้ชีวิตอย่างไรในสถานการณ์น้ำท่วม? น้ำลดอนาคตจะเปลี่ยนไปแค่ไหน?... ข้าวของขาดตลาด-ราคาพุ่ง โรคระบาดคืบคลานเข้าใกล้ ฟื้นฟูบ้านเรือนที่สร้างด้วยน้ำพักน้ำแรง ตกงานจะอยู่อย่างไร?...เป็นคำถามที่ถ้าไม่เปล่งเสียงออกมาก็อยู่ในใจคนจำนวนมากวันนี้ที่กลายเป็น “ผู้ประสบอุทกภัย” กันถ้วนทั่ว ท่ามกลางข้อมูลข่าวสารรายวันที่ไหล่บ่าทั้งจากรัฐบาลและสื่อที่อาจยิ่งสร้างภาวะบีบคั้นสับสน