สกู๊ป-สารคดีข่าว
-
มุมเหวี่ยง “ค่าจ้าง 300 บ.” แรงงานได้ขึ้นเงิน แต่ตกงานเพิ่ม “ยาม-แม่บ้าน กลุ่มเสี่ยง”
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 22 เมษายน 2555 เวลา 08:12 น.เขียนโดยณัฐดนัย ใหม่ซ้อน-กนกรัตน์ ศศิโรจน์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราเสียงคัดค้านประชานิยมที่หวังกินใจชนใช้แรงงานยังมีไม่ขาดสาย ล่าสุดสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ออกมาเรียกร้องเลื่อนปรับค่าจ้างเป็นวันละ 300 บาททั่วประเทศออกไปจากเดิมปี 56 เป็นปี 58
-
ช่วยกันสร้าง “พื้นที่สร้างสรรค์วันหยุด” ในชุมชนเมือง-ชนบท
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 12 เมษายน 2555 เวลา 15:14 น.เขียนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)“โครงการวันว่างสร้างสรรค์” ด้วยความร่วมมือของ สสส.และองค์กรภาคีเครือข่าย ต่อยอดมาจากโครงการปิดเทอมสร้างสรรค์ ที่เยาวชนให้การตอบรับล้นหลาม เพราะสร้างกิจกรรมทางเลือกที่เป็นประโยชน์
-
“เครือข่ายชุมชนพอเพียง” รับมือวิกฤติทุนนิยม สวนกระแสประชานิยม
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 10 เมษายน 2555 เวลา 15:52 น.เขียนโดยณัฐดนัย ใหม่ซ้อน ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราความยั่งยืนในการพัฒนาไม่ได้เกิดจากการ “หยิบยื่น” หรือคำว่า “เอาอยู่” ท่ามกลางประชานิยมที่หลายคนบอกไม่ตอบโจทย์การพัฒนา ชุมชนฐานรากจะอยู่รอดเช่นไร?
-
เสียงจากคน 6 ทุ่ง : น้ำกำลังจะมาแต่หาความชัดเจนไม่ได้ในทุ่งรับน้ำ
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 28 มีนาคม 2555 เวลา 09:51 น.เขียนโดยกสานติ์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราจนถึงขณะนี้ยังไม่มีใครฟันธงเรื่องพื้นที่รับน้ำ เงินชดเชยเยียวยา ซ้ำร้ายข้อมูลที่ไปลงถึงพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบเต็มๆ วันนี้ดูจะยังไม่มีอะไรชัดเจน...มาฟังคำร้องทุกข์จากชาวบ้าน 6 ทุ่งรับน้ำในวันนี้
-
ผ่าประเด็นร้อนแรงงาน “หลังดีเดย์ค่าจ้าง 300 บาท 1 เม.ย.”
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 27 มีนาคม 2555 เวลา 17:50 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราแวดวงแรงงานขณะนี้มีหลายประเด็นต้องจับตาอย่างใกล้ชิด และที่ร้อนแรงที่สุดคือประชานิยม “การปรับขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท” ที่ดีเดย์เริ่มใช้ 1 เม.ย.55 นี้ ไปติดตามปัญหาทั้งเก่า-ใหม่ของแรงงานไทย
-
“กลุ่มทุนรุกป่า” ใช้ที่ดินผิดประเภท ปมปัญหาน้ำท่วม
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 22 มีนาคม 2555 เวลา 20:47 น.เขียนโดยคณะกรรมการการสื่อสารเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย“ประเทศไทยโชคดีที่ไม่ค่อยประสบกับภัยธรรมชาติรุนแรงเหมือนอย่างประเทศอื่นๆ” เป็นประโยคที่จางหายไปแล้วในวันนี้ อีกปมปัญหาน้ำท่วมที่ถูกเปิดคือการรุกป่าของนายทุน-การใช้ที่ดินผิดประเภท
-
“สภาองค์กรชุมชนตำบลตำนาน” คืนชีวิตให้นา คืนปลาให้น้ำ สืบสานข้าวสังหยดพัทลุง”
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา 16:58 น.เขียนโดยสุวัฒน์ กิขุนทด“ตำบลตำนาน” ไม่เพียงเป็นหนึ่งในแหล่งปลูก “ข้าวสังข์หยด” เลื่องชื่อของเมืองพัทลุง แต่ชาวบ้านซึ่งรวมตัวกันเป็นสภาองค์กรชุมชนตำบล ทำกิจกรรม “คืนชีวิตให้นา คืนปลาให้น้ำ สืบสานอาหารพื้นบ้าน”
-
เกษตรพันธะสัญญา 'เล่ห์ลวงเกษตรกรไทยที่รอการปลดปล่อย'
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 20 มีนาคม 2555 เวลา 13:18 น.เขียนโดยคณะกรรมการการสื่อสารเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย“แม้มีความหวังว่า การเริ่มต้นใหม่กับการทำเกษตร ในรูปแบบของเกษตรพันธะสัญญากับบริษัทใหม่ ที่คิดว่าจะทำให้ลืมตาอ้าปากได้ แต่กลับต้องทำให้พบกับความผิดหวังอีกครั้ง เหมือนหนีเสือปะจระเข้ ” นายโชคสกุล มหาค้ารุ่ง อดีตเกษตรพันธะสัญญา สะท้อนความรู้สึก หลังจากผิดหวังในการทำเกษตรพันธะสัญญากับบริษัททุนยักษ์ใหญ่แห่งหนึ่ง
-
“วิถีคนกับป่า ปะทะ พืชเชิงเดี่ยว” จากต้นน้ำอุ้งผาง สะเทือนถึงอ่าวแม่กลอง
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 15 มีนาคม 2555 เวลา 15:54 น.เขียนโดยรุ่งโรจน์ เพชระบูรณินคนและป่าอุ้มผาง กำลังถูกท้าทายจากพืชเชิงเดี่ยว และสิ่งที่เรียกว่าความเจริญจากภายนอก “เครือข่ายต้นทะเล” เป็นการรวมตัวเพื่ออนุรักษ์พื้นที่ป่าต้นน้ำชั้นเลิศ และยืนหยัดไว้ซึ่งวิถีความเชื่อว่า “ป่าอยู่ได้ ชุมชนอยู่ได้
-
“องค์กรประชาชนตรวจสอบท้องถิ่น” สูตรรักษาสารพัดปัญหาชุมชนไทย
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 08 มีนาคม 2555 เวลา 17:31 น.เขียนโดยสำนักรณรงค์สื่อสารสังคม สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้มีประชากรราว 9.7 ล้านคน การให้บริการสาธารณะเป็นไปอย่างทั่วถึงแต่ก็ยังมีข้อผิดพลาด คนกรุงโซลจึงรวมตัวตั้งองค์กรภาคประชาชนตรวจตราการให้บริการสาธารณะของภาครัฐ