สกู๊ป-สารคดีข่าว
-
คนท้องถิ่นเมินแผนน้ำท่วมรัฐ ผนึกกำลังรับมือวิกฤตใหม่
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 07 มีนาคม 2555 เวลา 16:46 น.เขียนโดยกสานต์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรานับวันปัญหาภัยพิบัติยิ่งรุนแรงมากขึ้น ขณะที่ภาครัฐยังคงนั่งประชุม ขีดเส้นบนแผนที่กำหนดพื้นที่รับน้ำฯ แต่คนท้องถิ่นมิอาจรั้งรอ สรุปบทเรียนจากบาดแผลปีที่ผ่านมา สร้างเครือข่ายทำแผนด้วยตัวเองพร้อมรับทุกสถานการณ์ร้ายแรง ติดตามจากรายงาน
-
“มันสำปะหลังอินทรีย์ ต.หนองโรง” ปลดแอกชะตาเกษตรกรชุมชน
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 29 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 19:06 น.เขียนโดยอัมพร แก้วหนู สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน“การทำเกษตรอินทรีย์” นั้นไม่ง่ายอย่างที่คิด โดยเฉพาะกับความคุ้นเคยในระบบเกษตรเคมีของทั้งผู้บริโภค-ผู้ผลิต แต่ชาวบ้านตำบลหนองโรงได้ก้าวผ่าน “ความยาก”ที่ว่ามาได้ เพื่อพบบทพิสูจน์ว่า “คือทางรอด” ของเกษตรไทย
-
“รร.วัดท่าสะท้อน” บทพิสูจน์ความสุขจากการศึกษาทางเลือกในโรงเรียนเล็ก
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 28 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 19:02 น.เขียนโดยนิภาภรณ์ แสงสว่างปี 2547 โรงเรียนวัดท่าสะท้อน ต.ชะอวด อ.ชะอวด จ.นครศรีธรรมราช โรงเรียนเล็กๆในวิถีอันเงียบสงบของชุมชนป่าพรุควนเคร็ง ถูกปิดลง ด้วยเหตุผลว่าจำนวนนักเรียนลดลง ไม่คุ้มทุนกับการบริหารจัดการ
-
เสียงจากคนใต้ : “แผนพัฒนารุกที่เกษตร" จ่ออุตสาหกรรม-โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 18:30 น.เขียนโดยปรัชญเกียรติ ว่าโร๊ะ โรงเรียนนักข่าวชายแดนใต้ ศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ท่ามกลางแรงผลักดันให้ปักษ์ใต้กลายเป็นเมืองอุตสาหกรรม ภายใต้ “แผนพัฒนาภาคใต้” วันนี้จังหวัดชุมพรจึงตกอยู่ในสถานการณ์ ‘โรงไฟฟ้าบี้–อุตสาหกรรมหนักจี้–เขื่อนจ้อง’ในพื้นที่สีเขียว
-
เสียงครวญของ “ชุมชนสละที่สร้างเขื่อน” เจอน้ำท่วมซ้ำซาก-เป็นพื้นที่ถูกลืม
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 19:59 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราหนึ่งในแผนแม่บทบริหารจัดการลุ่มน้ำเจ้าพระยาแบบบูรณาการ 3 ปี 3.5 แสนล้านบาท ของคณะกรรมการยุทธศาสตร์เพื่อวางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ(กยน.) คือสร้าง 5 เขื่อน
-
"เกษตรอินทรีย์" ทางเลือกทางรอดที่ยั่งยืนของเกษตรกรไทย"
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:40 น.เขียนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)“เมื่อตอนเป็นเด็ก ผมเกิดคำถามกับตัวเองมาตลอดเวลาว่าทำไมผมถึงจน บ้านผมทำไร่ทำนากันทั้งครอบครัวเราทำงานหนักกันทั้งครอบครัว แต่ทำไมครอบครัวเราถึงหนีความจนไม่พ้น”
-
“ธรรมนูญประชาชนฅนอำนาจเจริญ”ท้องถิ่นขอจัดการตนเอง
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 19:12 น.เขียนโดยรุ่งโรจน์ เพชระบูรณิน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชนคนเรือนหมื่นร่วมปฏิรูปท้องถิ่นโดยประกาศ “ธรรมนูญฅนอำนาจเจริญ” ตุ้มโฮมคน-ภูมิปัญญา มุ่งความอยู่ดีมีสุข ฟื้นสภาหมู่บ้าน ตั้งสภากลางตำบล-สภากลางจังหวัด ยึดสัจจะอธิฐานว่า “ผืนดินนี้ชาวบ้านจะร่วมกันจัดการ”
-
“ขนมบูด” บุกชุมชน คุณภาพชีวิตเด็กแนวชายแดนดิ่งเหว
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 07 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 17:51 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศราในขณะที่ชุมชนเมืองได้รับการพัฒนาอย่างก้าวกระโดด คุณภาพชีวิตคนชนบทกลับถดถอยน่าใจหาย ความเหลื่อมล้ำนี้มีให้เห็นในทุกมิติ ข้อมูลหนึ่งจากสมัชชาสุขภาพสะท้อนคุณภาพชีวิตเด็กในชุมชนอย่างน่าห่วง
-
ผ่านมา 7 ปีสึนามิ ถึงน้ำท่วม’54 ชาวบ้านช่วยกันเอง แล้วรัฐไทยทำอะไรบ้าง?
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 04 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 16:10 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา“ชุมชนเข้มแข็ง” อาจถูกมองเป็นเพียงวาทกรรมสวยหรู แต่บทเรียนจากหลายพื้นที่กำลังบอกสังคมว่า พลังชุมชนมีอยู่จริง และนาทีนี้กำลังยืดหยัดต่อสู้กับมหันตภัยทั้งด้านปากท้อง และย่อมรวมถึงภัยพิบัติ
-
3 โมเดล “จังหวัด-อำเภอจัดการตนเอง”...ฝันที่เป็นจริง?
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 31 มกราคม 2555 เวลา 17:53 น.เขียนโดยกสานติ์ คำสวัสดิ์ ศูนย์ข่าวเพื่อชุมชน สำนักข่าวอิศรา“แม่สอด”เขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองหน้าด่านตะวันตก “เชียงใหม่มหานคร”ชูสภาพลเมืองถ่วงดุลรัฐท้องถิ่น “มหานครปัตตานี”การปกครองภายใต้ความขัดแย้ง 3บริบทความแตกต่างสู่การจัดการตนเอง