“…หลังรัฐประหาร ก็จะเป็นคนในกองทัพที่ลงมาดูโปรเจ็กต์ของทวายโดยตรง สำหรับนักธุรกิจอย่างอิตาเลียนไทย ตั้งแต่ต้นเขาก็ดีลงานกับกองทัพ แล้วเนื่องจากว่าประเทศไทยเราอยู่ภายใต้รัฐบาลที่ปกครองโดยรัฐบาลกึ่งทหาร ด้วยสายสัมพันธ์ของทหารไทยกับทหารพม่าเรียกว่ากลมเกลียวมากเลยทีเดียว เพราะว่านับตั้งแต่รัฐประหารมาก็จะมีคนชอบพูดถึงพลเอกอาวุโส มิน อ่อง หลาย เป็นลูกเลี้ยงของป๋าเปรม ( พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ ) ก็เห็นถึง ...
"...แนวนโยบายทางการเมืองของอาเซียนนั้นประสบปัญหาอย่างร้ายแรงอันเนื่องมาจากความไม่ลงรอยกันเพราะประเทศสมาชิกอาเซียนที่มารวมกันในแต่ละประเทศ ทุกประเทศต่างก็มีความต้องการจะแสดงจุดยืนร่วมกันในการต่อต้านแรงกดดันที่มาจากภายนอกภูมิภาค มากกว่าที่จะมาร่วมกันพัฒนานโยบายอันเกี่ยวข้องกับประเทศเมียนมา ..."
ดร. มิน ทวย รมว.สาธารณสุขเมียนมา โพสต์เฟซบุ๊กชิงประกาศลาออก หลังกองทัพก่อรัฐประหาร-พล.อ.อาวุโส มิน อ่อง หล่าย สั่งปลด รมต. 24 ตำแหน่ง กล่าวทิ้งท้ายขอให้ดูแลปชช.ต่อในสถานการณ์ระบาดโรคโควิด - โรงพยาบาลเด็กจากเมืองมัณฑะเลย์ ประกาศอารยขัดขืน ไม่ทำตามคำสั่งคณะรัฐประหารเมียนมา เริ่ม 3 ก.พ. ขอร้อง รพ.อื่นทำตามด้วย
"...ทั้ง 2 ร่าง มีความต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ โดยร่างของพรรคร่วมฝ่ายค้าน เสนอให้ สสร.ทั้ง 200 คน มาจากการเลือกตั้งทางตรงทั้งหมด ขณะที่ฝ่ายรัฐบาลมีข้อปลีกย่อย คือ มีการเลือกตั้งทางอ้อมถึง 50 คน และเลือกตั้งทางตรง 150 คน กล่าวคือ ให้มีสัดส่วน สสร.50 คน ที่มาจากการเลือกของรัฐสภา และการแต่งตั้งที่คัดเลือกผู้เชี่ยวชาญ รวมถึงบรรดานักเรียน นิสิต นักศึกษา โดย 20 คน มาจากการเลือกโดยรัฐสภา 20 คน มาจากการเลื ...
"...การทำ RIA นั้นมีข้อจำกัดอยู่เนื่องจากกฎหมายและระบบหลักๆ ของประเทศไทยไม่ได้มีการมุ่งเน้นและให้ความสำคัญกันอย่างเท่าเทียม เพราะยังมีการใช้ดุลยพินิจอยู่ในบางกรณีในเรื่องการประเมินผลกระทบของการออกกฎหมาย อาทิ มีช่องทางมากมายรวมถึงช่องทางซึ่งไม่มีระเบียบข้อบังคับ และการประเมินผลกระทบของกฎหมายต่างๆในทางอ้อมเป็นต้น ..."
"... ถ้าหากว่าเราเห็นว่าคำพิพากษาฉบับไหนไม่มีเหตุผล เราก็มีสิทธิ์ที่จะโต้แย้งความเห็นของเราว่าคำพิพากษาฉบับนั้น ขาดเหตุผลอย่างหนึ่งอย่างใด หรือตั้งคำถามต่อสาธารณชนได้ว่า เรามีความเห็นว่าคำพิพากษานั้น ไม่ควรเป็นเช่นนั้น ไม่ควรเป็นเช่นนี้ เพราะเหตุใด แบบนี้ทำได้ หรือเราจะวิจารณ์ผู้พิพากษาหรือวิจารณ์ศาล ทำได้ แต่ว่าจะแสดงความคิดเห็นในลักษณะเป็นการดูหมิ่น หรือเหยียดหยามผู้พิพากษา หรือว่าศาลไม่ได้..." ...
หมายเหตุสำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) : นายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี กล่าวถึงสถานการณ์การชุมนุมทางการเมือง ผ่านเวทีเสวนา ‘จากรุ่นแอนะล็อกสู่ยุคดิจิทัล เราจะลดช่องว่างการสื่อสารด้วยความจริงและความงามได้อย่างไร’ โดยเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งภายในงานเวทีนักคิดดิจิทัล ครั้งที่ 13 ที่จัดขึ้นโดย ภาคีโคแฟค , สภาการหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทย และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
"...ภายหลังการเลือกตั้งทั่วไปที่จัดขึ้นตามรัฐธรรมนูญ 2560 แม้บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญทั้งสองฉบับดังกล่าวจะบัญญัติให้ สนช. ทำหน้าที่ รัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร และวุฒิสภา และรัฐธรรมนูญ 2560 จะให้บัญญัติให้สมาชิก สนช. ทำหน้าที่เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา ย่อมเป็นการรับรองสถานะของ สนช. และสมาชิก สนช. อยู่ในตัว ดังนั้น อดีต สมาชิก สนช. จึงมีลักษณะต้องห้ามเป็นกรรมการ ป.ป.ช. ..."
"...อยากเสนอว่า ในทำนองเดียวกับญาติผู้เสียชีวิต ญาติวีรชนพฤษภา อยากให้ญาติของผู้สูญหายรวมตัวกัน เป็นคณะกรรมการญาติผู้สูญหาย และอาจจะจัดการเชิงรำลึก เชิงสังคม ไม่เฉพาะกรณีทนายสมชาย แต่รวมถึงกรณีคนอื่น ๆ ก็ได้"
เหตุไฉนศาลจึงตัดสินให้บริษัทบุหรี่เสียค่าปรับต่ำมาก เมื่อเทียบกับมูลค่าความเสียหายจากการเลี่ยงภาษีที่รัฐควรจัดเก็บได้หลายหมื่นล้านบาทที่ปรากฏเป็นข่าวในตอนแรก