ช่าวใหญ่ที่ดูเหมือนเป็นข่าวร้ายของชาวบ้านบาโงยซิแน อ.ยะหา ก็คือมีคนในตำบลติดเชื้อโควิด-19 คราวเดียวถึง 23 คน จากยุทธการตรวจหาผู้ป่วยเชิงรุก (active case finding) ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดยะลา
การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่กินเวลายาวนานหลายเดือน ท่ามกลางตัวเลขผู้ติดเชื้อที่รายงานผ่านสื่อทุกแขนงเป็นประจำทุกวัน มีหมายเหตุบางอย่างถึงพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ช่วงนี้กลุ่มดะวะห์ หรือชาวไทยมุสลิมที่ไปร่วมชุมนุมของผู้เผยแผ่ศาสนาอิสลาม (โยร์) ที่ประเทศอินโดนีเซีย กำลังถูกพูดถึงมากเป็นพิเศษ
หลายคนอาจไม่ทราบว่า บุคคลที่อยู่เบื้องหลังการกลับไทยของ "กลุ่มดะวะห์" ที่อินโดนีเซียเกือบ 100 ชีวิต คือ อดีต ส.ส. และอดีตนายก อบจ.สตูล นามว่า ธานินทร์ ใจสมุทร
การเสียชีวิตของ "นายช่างเปาะยา" ชายวัย 57 ปี บนรถไฟสายกรุงเทพฯ-สุไหงโกลก เต็มไปด้วยเสียงวิจารณ์จากทั้งในและนอกโซเชียลมีเดีย ภายหลังผลตรวจชันสูตรศพยืนยันว่าเขาติดเชื้อโควิด-19
นักวิชาการผู้เชี่ยวชาญด้านความมั่นคง มองว่า การใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ แก้ปัญหาโรคระบาด ถือเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การใช้กฎหมายพิเศษของไทย มั่นใจนานาชาติเข้าใจสถานการณ์
เลขาธิการ ศอ.บต. ชี้เหตุระเบิดหน้า ศอ.บต. ทำให้รู้ว่าประชาชนต้องยืนด้านไหน เพราะในขณะที่ภาครัฐกำลังประชุมแก้ปัญหาโรคระบาดให้กับประชาชน แต่คนอีกกลุ่มหวังทำลาย ไม่ต้องการให้มีการแก้ปัญหา
"มันน่ากลัวมาก เสียงดังมาก ตกใจหมด ไม่คิดว่าจะเกิดได้ขนาดนี้ แต่มันก็เกิด ความปลอดภัยไม่มีจริงๆ..." เป็นเสียงเล่าในอารมณ์ระทึกขวัญของข้าราชการรายหนึ่งที่เข้าร่วมประชุมรับมือ "โควิด-19" ที่ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ แล้วก็เกิดระเบิดขึ้น "ประชุมไปได้แค่ครึ่งชั่วโมงเองมั้ง เราก็ได้ยินเสียงระเบิดลูกแรก ตอนแรกทุกคนเข้าใจว่าน่าจะหม้อแปลงระเบิด แต่เลขาธิการ ศอ.บต.น่าจะรู้สึกตะหงิดๆ จึงขอตัวอ ...
นายอับดุลการีม คาลิด ซึ่งประกาศตัวว่าเป็นโฆษก หรือผู้แทนฝ่ายสื่อสารของกลุ่มบีอาร์เอ็น ได้ออกมาแถลงผ่านสื่อสังคมออนไลน์ เนื่องในวันคล้ายวันสถาปนาบีอาร์เอ็น ครบรอบ 60 ปี และวันครบรอบ 111 ปี สนธิสัญญา สยาม-อังกฤษ ค.ศ.1990
แม้แหล่งโบราณสถาน "ภาพเขียนสีโบราณ" บนเขายะลา จะไม่ใช่แหล่งท่องเที่ยวชื่อดังที่ใครๆ ก็รู้จักและแวะไปเยี่ยมเยือน