ชื่อของ “อนุมัติ อาหมัด” อดีต ส.ว.สงขลา และอดีต สนช. (สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ) ยุค คสช. ถูกพูดถึงไปไกลถึงขนาดเป็น 1 ใน 3 ขุนพลสำคัญของพรรคพลังประชารัฐในศึกเลือกตั้งครั้งหน้า
ประเด็น “เสี่ยโจ้” ถึงนาทีนี้ชัดเจนแล้วว่า หน่วยงานที่มีปัญหา ไม่นำหมายจับเข้าสารบบ หรือที่เรียกว่า “ซุกหมายจับ” แท้ที่จริงแล้วก็คือ “ตำรวจ” นั่นเอง
ไม่เชื่อก็ต้องเชื่อ สำหรับสารพัดคดีของ “เสี่ยโจ้ ปัตตานี” นายสหชัย เจียรเสริมสิน ที่เขาตกเป็นผู้ต้องหาและจำเลยมาตลอด 18 ปี รวม 14 คดี แต่ยังไม่มีคดีไหนเอาผิดเขาได้
1 พ.ย.64 นอกจากเป็นหมุดหมายของการ “เปิดประเทศ - เปิดการท่องเที่ยว” เพื่อสร้างความหวังในการฟื้นเศรษฐกิจแล้ว
“อย่างน้อยก็จะได้เป็นตัวแทนพูดปัญหาของชาวบ้าน ได้นำเสนอว่า 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ควรเป็นแบบไหนในสภา เป็นการพูดแทนพี่น้องประชาชน”
สถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ตั้งแต่ช่วงต้นเดือนตุลาคมเป็นต้นมา ตัวเลขของผู้ติดเชื้อรายใหม่ในพื้นที่ มีจำนวนมากขึ้นทุกวัน ไม่มีทีท่าว่าจะลดลงแต่อย่างใด
รอง สสจ.ปัตตานี เผยสถานการณ์โควิดในพื้นที่อยู่ในช่วงขาขึ้น อาจมีผู้ติดเชื้อสูงถึง 1,000 คนต่อวัน จากคลัสเตอร์เล็กๆ ที่กระจายอยู่ในพื้นที่ เตือนประชาชนอย่าการ์ดตก คาด 1-2 เดือนจะคุมสถานการณ์ได้ ยอมรับเจ้าหน้าที่ห้องผ่าตัดโรงพยาบาลปัตตานีติดโควิดเกือบครึ่ง จนต้องสั่งปิด
ในสถานการณ์การเมืองที่อึมครึม ไม่มีความแน่นอน ซ้ำยังมีกระแสข่าวลือเกี่ยวกับการยุบสภาออกมาไม่เว้นแต่ละวัน ทำให้หลายพรรคการเมืองเปิดตัว “แคนดิเดตนายกฯ” ของแต่ละพรรค เพื่อเตรียมสู้ศึกเลือกตั้ง
นับตั้งแต่มีข่าวใหญ่ช่วงกลางเดือน ก.ย.64 กรณีคณะกรรมการ ป.ป.ช.ชี้มูลความผิดโครงการติดตั้งเสาไฟส่องสว่างพลังงานแสงอาทิตย์หรือโซลาร์เซลล์ ของ ศอ.บต. ปรากฏว่า หลังจากนั้นทุกอย่างตกอยู่ในความเงียบงัน
ปฏิเสธไม่ได้ว่า ภาพจากกล้องโทรทัศน์วงจรปิด กรณี “โจ้คลุมถุงฆ่า” กลายเป็นตัวเร่งอันสำคัญที่ทำให้สภาผู้แทนราษฎรรับหลักการ ร่างพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) ป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย เมื่อวันที่ 16 ก.ย.64 ที่ผ่านมา ก่อนปิดสมัยประชุมเพียงไม่กี่วัน