"...เมื่อพิจารณาจากการดำเนินงานของรัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงบริบทและสถานการณ์ทางการเมืองของประเทศไทย ณ ปัจจุบัน พบว่า ฉากทัศน์ที่ 1 หรือฉากทัศน์ที่คะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ของประเทศไทยอยู่ในระดับค่อนข้างจะคงที่แทบจะไม่เปลี่ยนแปลงไปอีก 10 ปีนั้น เป็นฉากทัศน์ที่กำลังจะเกิดขึ้นอย่างหลีกเลี่ยงได้ยาก..."
‘นายกฯเศรษฐา’ ประกาศวิสัยทัศน์ ‘Thailand Vision’ ตั้งเป้าผลักดัน ‘ไทย’ เป็นผู้นำ 8 ‘ศูนย์กลางฯ’ ในภูมิภาค ตั้งแต่การเป็น ‘ศูนย์กลางการท่องเที่ยว’ ไปจนถึงการเป็น ‘ศูนย์กลางทางการเงิน’ พร้อมเดินหน้าโครงการ ‘แลนด์บริดจ์’ หวังเป็นตัวกลางการค้าระหว่างโลก ‘ตะวันตก-ตะวันออก’
‘เศรษฐา’ วอน ‘แบงก์ชาติ’ เรียกประชุม ‘กนง.’ ก่อนกำหนด พิจารณาลด ‘ดอกเบี้ย’ หลังมีข้อมูลใหม่จาก ‘สภาพัฒน์’ ชี้ ‘ธปท.’ มีอิสระ แต่ต้องคำนึงถึงความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชน
ครม. มีมติรับทราบ 8 ข้อเสนอแนะ ‘ป.ป.ช.’ ป้องกันการทุจริตฯโครงการ ‘ดิจิทัลวอลเลต’ มอบ ‘คณะกรรมการนโยบายฯ' ไปพิจารณาให้ได้ข้อยุติ ก่อนนำมาเสนอภายใน 30 วัน
ธปท.เผยสินเชื่อ ‘ระบบธนาคารพาณิชย์’ ปี 66 หดตัว 0.3% ‘กำไรสุทธิ’ เพิ่มเป็น 2.51 แสนล้าน หลัง NIM ขยับแตะ 3% ขณะที่ ‘ค่าใช้จ่ายกันสำรอง’ เพิ่ม 11.2% จากปีก่อน ด้าน ‘สภาพัฒน์’ แนะหั่น ‘อัตราดอกเบี้ย-ส่วนต่างดอกเบี้ย’ ลดภาระให้ภาคครัวเรือน-ธุรกิจ SMEs
‘สภาพัฒน์’ เผยเศรษฐกิจไทยไตรมาส 4/66 เติบโต 1.7% หลัง ‘ลงทุนภาครัฐ’ หดตัว 20.1% ขณะที่ ‘สาขาอุตสาหกรรม’ ติดลบ 2.4% ส่งผลให้ทั้งปี 66 ขยายตัวเพียง 1.9% ชะลอตัวจากปีก่อนที่เติบโต 2.5% หั่นเป้าจีดีพีปี 67 เหลือ 2.2-3.2%
เผย ‘จุลพันธ์’ มีกำหนดเดินทางไปพบ ‘นักลงทุน’ ที่ ‘ฮ่องกง’ เร็วๆนี้ ชี้แจงแผนการออก ‘พันธบัตรรัฐบาล’ ในสกุลเงินตราต่างประเทศ ครั้งแรกในรอบ 20 ปี ‘วงใน’ คาดอาจเกิดยาก เหตุ ‘ดอกเบี้ยสหรัฐสูง-กู้ในประเทศถูกกว่า’
เปิด ‘แผนบริหารหนี้สาธารณะฯ’ ฉบับใหม่ พบรัฐบาลควักงบปี 67 ชำระหนี้ ‘เงินต้น-ดอกเบี้ย’ เพิ่มเป็น 3.46 แสนล้าน ด้าน ‘สศช.’ ห่วง 'ภาระดอกเบี้ย' เพิ่มขึ้นเร็ว ขณะที่ ‘แบงก์ชาติ’ แนะให้ความสำคัญจัดสรรงบคืน ‘เงินกู้’-ปรับโครงสร้างหนี้ฯ
'ครม.' รับลูก ‘สมศักดิ์’ มอบ ‘หน่วยงานรัฐ’ เร่งเสนอความเห็นประกอบการพิจารณา 'ร่างกฎหมาย' 9 ฉบับ เดินหน้าร่างแก้ไข พ.ร.บ.จัดตั้งศาลภาษีฯ-ร่างแก้ไข พ.ร.บ.‘ป.ป.ช.’ ขณะที่ ‘นายกฯ’ สั่ง ‘รมต.’ เสนอกฎหมายหนุนขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาล
“…หากกำหนดให้สิทธิแก่ผู้เสียหายมีอำนาจฟ้องคดีดังกล่าวได้เอง ผู้เสียหายและผู้กระทำความผิดซึ่งเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งเป็นผู้มีอิทธิพลมากกว่าบุคคลทั่วไป อาจดำเนินคดีอันเป็นความผิดที่รัฐเป็นผู้เสียหายในลักษณะสมยอมได้ เป็นเหตุให้รัฐได้รับความเสียหาย และไม่สามารถฟ้องร้องดำเนินคดีกับบุคคลดังกล่าวได้อีก เนื่องจากเป็นการดำเนินคดีซ้ำ…”