แพร่ประกาศประกาศสำนักนายกฯ แต่งตั้งพนักงานมหาวิทยาลัย 8 แห่งให้ดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ ขอนแก่น จุฬาฯ เชียงใหม่ เกษตรศาสตร์ สงขลานครินทร์ ธรรมศาสตร์ ศิลปากร พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง รวม 24 ราย
รายงานผลการสอบสวนฉบับเต็มของ ก.พ.อ. พบว่า มีผู้ทรงคุณวุฒิ 50 ราย ยืนยันว่าถูกปลอมลายเซ็นในการประเมินผลงานวิชาการให้ มรภ.มหาสารคาม บางกรณียืนยันด้วยว่า ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการ ตามคำสั่งแต่งตั้ง บางกรณีแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิไม่สอดคล้องกับสาขาวิชาที่มีการขอตำแหน่ง
"...จนถึงวันนี้ ผู้ขอตำแหน่ง ผศ.-รศ.ทั้ง 44 ราย ยังอยู่ในฐานะผู้เสียหาย และยังไม่พบพยานหลักฐานว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับขบวนการดังกล่าวหรือไม่ ขณะที่เมื่อวันที่ 11 ธ.ค.2564 ศาสตรเมธี ดร.สุทธิพงศ์ หกสุวรรณ กรรมการสภามหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม ผู้ทรงคุณวุฒิ เปิดเผยว่า คณาจารย์ทั้ง 44 ราย ยังสามารถใช้สิทธิ์อุทธรณ์คำสั่ง และให้ข้อมูลเพื่อแสดงความไม่มีส่วนเกี่ยวข้องได้ตามขั้นตอนราชการ..."
"...มหาวิทยาลัยต้องรีบแก้ปัญหาโดยเร็ว ทุกอย่างจะต้องมีการพูดคุยกับอาจารย์ ต้องทำความเข้าใจอย่างตรงไปตรงมา ไม่อย่างนั้นมหาวิทยาลัยจะเหนื่อย เพราะก็จะมีขบวนการทำให้เกิดการบิดเบือนของข้อมูลข่าวสารอีก ถัดมาในการดำเนินการใดๆก็ตาม ผมคิดว่าหากอาจารย์แต่ละท่านเข้าใจหลักของกฎหมายหรือระเบียบวิธีปฏิบัติของราชการ เขาก็จะค่อนข้างสบายใจได้ว่าไม่ต้องกังวลอะไร..."
"...ผลการตรวจสอบดังกล่าว พบว่า มีผู้ทรงคุณวุฒิ 39 คน ยืนยันข้อเท็จจริงว่า ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานกรรมการหรือกรรมการ ตามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ นอกจากนั้นยังพบว่า มีผู้ทรงคุณวุฒิ 50 คน ยืนยันข้อเท็จจริงว่า แบบประเมินผลงานทางวิชาการ ไม่ใช่ลายมือชื่อของตนเอง..."
"...ด้านผลการจัดการศึกษา พบว่ามีจุดเด่นที่เด็กมีพัฒนาทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา อยู่ในระดับดีมาก เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสุขภาพร่างกายแข็งแรง รู้จักหลีกเลี่ยงการกระทำที่นำไปสู่การบาดเจ็บได้ตามวัย มีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ มีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนหรือผู้ใหญ่ที่คุ้นเคย ชื่นชอบและตอบสนองต่อศิลปะดนตรีและการเคลื่อนไหว..."
“...ที่ประชุมสภามหาวิทยาลัยได้รับข้อมูลจากมหาวิทยาลัยถึงข้อพิรุธเอกสารดังกล่าวแล้ว เบื้องต้นน่าเชื่อว่าจะมีการทุจริต ทำให้สภาฯแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ ขึ้นมาเพื่อตรวจสอบเรื่องนี้ และผลการตรวจสอบคณะกรรมการชุดนี้จะนำเสนอต่อสภามหาวิทยาลัยต่อไป...”
"เด็กนักเรียนจะต้องเรียนได้ทั้งที่บ้าน และ ที่โรงเรียน การเรียนการสอน ไม่ควรยกให้เป็นภาระของโรงเรียนเท่านั้น ที่บ้านก็จะต้องมีบทบาทมาก แม้กระทั่งท้องถิ่น ก็มีปราชญ์ชาวบ้านมากมาย ที่พร้อมจะสอนได้ การประสบความสำเร็จในชีวิตของเด็ก ไม่ได้เกิดจากการแข่งขันเข้าเรียน การกวดวิชา"
ท่ามกลางความสูญเสีย ได้สร้างวีรบุรุษในชุดต่าง ๆ หลากรูปแบบ โดยเฉพาะ “ชุดกาวน์” หรือ “บุคลากรทางการแพทย์” ผู้เสียสละทำหน้าที่หลักในการตรวจรักษา และมีความใกล้ชิดโดยตรงกับผู้ป่วย อีกทั้งวีรบุรุษเสื้อช็อป อย่าง “วิศวกรไทย” และมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ผู้อยู่เบื้องหลังการควบรวมศาสตร์ “วิศวกรรม” สู่การผลิต “นวัตกรรมและเทคโนโลยี” หนุนหลังบุคลากรทางการแพทย์ เพื่อให้การตรวจรักษาเป็นไปอย่างมีเสถียรภาพและราบรื่น
เครือข่ายบ้านเรียนพบว่า มีเจ้าหน้าที่การศึกษาของรัฐไม่ทราบข้อเท็จจริง ในบางสำนักงานกล่าวถึงเรื่องนี้ไปในทางขาดความเข้าใจ และอ้างใช้หน้าที่อันไม่ชอบธรรม เพื่อการกระทำที่ไม่สมควร ยุยงแกมบังคับครอบครัวซึ่งกำลังดำเนินการขออนุญาตจัดการศึกษาโดยครอบครัว ปีการศึกษา 2563 ให้ดำเนินงานตามที่เจ้าหน้าที่แนะนำ โดยขาดหลักการรับรองสิทธิบ้านเรียนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะเรื่องการศึกษารูปแบบบ้านเรียนสามารถดำ ...