สถานการณ์โควิด-19 ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ยังไม่พ้นวิกฤติ
คนกลุ่มหนึ่งที่ได้รับผลกระทบอย่างร้ายแรงไม่แพ้กลุ่มอื่นๆ จากวิกฤติโควิดที่แพร่ระบาดไปทั่วโลก ก็คือ นักเรียน นักศึกษา ที่ต้องไปเดินทางไปร่ำเรียนวิชาในต่างแดน
หลังรัฐบาลคลายล็อก และเตรียมเปิดประเทศ ตามคำประกาศของนายกรัฐมนตรี ปรากฏว่าเมืองต่างๆ หลายเมือง ทั้งระดับจังหวัดและอำเภอ ต่างพากันแสดงความพร้อม “เปิดการท่องเที่ยว”กันอย่างคึกคัก
วันอังคารที่ 14 ก.ย.64 เป็นเส้นตายครบกำหนด 15 วันการสอบสวน พ.ต.อ.ปรเมษฐ์ พลับพลึง ผู้กำกับการ สภ.รามัน จ.ยะลา หลังมีการตั้งคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงข้อกล่าวหาที่ปรากฏทางสื่อ โดยเฉพาะอมเบี้ยงโควิดของลูกน้อง
ศาลฏีกาพิพากษายืนตามศาลอุทธรณ์ จำคุก 34 ปี “ลุกมาน เขร็มแอ” เกี่ยวข้องฐานปฏิบัติการผู้ก่อความไม่สงบในพื้นที่หนองจิก ปัตตานี ที่ถูกเจ้าหน้าที่เข้าตรวจยึด หลังผลดีเอ็นเอมัด แถมถูกพยานซัดทอด
สิ้นแล้ว “เปาะจิดือราแม” ปราชญ์ชาวบ้านแห่งเทือกเขาบูโด ผู้สร้างความสมานฉันท์และลดความขัดแย้งระหว่างภาครัฐกับชาวบ้านในพื้นที่
ตำรวจชั้นผู้น้อยในพื้นที่ จ.ยะลา ร้องขอความเป็นธรรมผ่านสื่อและภาคประชาสังคม แฉถูกผู้กำกับโรงพักในพื้นที่เรียกเก็บเงินเบี้ยเลี้ยงโควิดที่เข้าบัญชี ให้เอามารวมเข้ากองกลาง อ้างนำไปจัดสรรใหม่แบ่งให้ฝ่ายธุรการ หลายคนคาใจรับยอด 2-3 หมื่น จัดสรรคืนเหลือ 6-7 พันบาท
ผลกระทบจากโควิด-19 แผ่กระจายไปทั่วทุกหัวระแหง...
ภาพคลื่นมนุษย์ชาวอัฟกันเบียดเสียดกันตามสนามบินและรันเวย์ในกรุงคาบูล บางส่วนถึงขั้นยอมเกาะล้อเครื่องบินจนตกลงมาเสียชีวิต เพื่อต้องการหนีจากสถานการณ์ความไม่แน่นอนในอัฟกานิสถานนั้น อาจเป็นเพียงบางส่วนเสี้ยวของวิกฤตการณ์ในประเทศนี้
น้ำใจคนไทยจากทั่วทุกภาคของประเทศหลั่งไหลช่วย “แม่เลี้ยงเดี่ยวลูกสาม” หลังจากสื่อมวลชนหลายแขนงช่วยกันนำเสนอเรื่องราวชีวิตช่วงที่ไม่มีงานทำ ไม่มีรายได้เพราะโควิด แต่ต้องแบกภาระดูแลถึง 4 ชีวิต ทั้งลูกๆ และตัวเอง