"ขอให้เน้นตรวจสอบรอยร้
หมายเหตุสำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org): เมื่อวันที่ 31 มี.ค. 2568 ภายหลังจากเหตุแผ่นดินไหวเมื่อวั
ศ.ดร.อมร พิมานมาศ นายกสมาคมวิศวกรโครงสร้างแห่
"ขอให้เน้นตรวจสอบรอยร้
าวและการกะเทาะหลุดของคอนกรีตที่ บริเวณเสาและผนังปล่องลิฟต์ ของอาคาร เนื่องจากเป็นโครงสร้างหลักที่ รับน้ำหนัก และมีจุดสังเกตว่ารอยร้ าวและการกะเทาะหลุดของคอนกรีต จะเกิดขึ้นที่บริเวณโคนเสาด้ านล่างและปลายเสาด้านบน โดยเฉพาะอาคารสูงให้ระวังรอยร้ าวที่เสาชั้นล่างๆ และเสาที่บริเวณกึ่งกลางความสู ง" ศ.ดร.อมร ระบุ
ความเสียหายของรอยร้าวสามารถแบ่
-
ระดับที่ 1 – ไม่พบรอยร้าว
-
ระดับที่ 2 – ตรวจพบรอยร้าวในเสาหรือผนังรั
บน้ำหนัก เห็นเป็นเส้น มีความหนาไม่มาก ไม่ถึง 0.4 มม. (บัตรเครดิตหรือบั ตรประชาชนสอดไม่เข้า) รอยร้าวดังกล่าวยังไม่เป็นอั นตราย สามารถเข้าใช้สอยอาคาร แต่ก็ควรซ่อมรอยร้าวโดยการฉีดวั สดุประสานรอยร้าว เช่น อีพอกซี เป็นต้น -
ระดับที่ 3 – ตรวจพบรอยร้าวขนาดใหญ่ในเสาหรื
อผนังรับน้ำหนัก เป็นเส้นหนาเกิน 0.6 มม. (บัตรเครดิตหรือบั ตรประชาชนสอดเข้าไปได้) รอยร้าวดังกล่าวมีผลกระทบต่ อโครงสร้าง ควรซ่อมแซมโดยการฉีดวัสดุประสาน หรือใช้เหล็กยึดเจาะเสียบเย็ บรอยร้าว
สำหรับการกะเทาะหลุดของปูน สามารถจำแนกได้เป็น 4 ระดับ
-
ระดับที่ 1 – ไม่พบการการกะเทาะหลุดของปูน
-
ระดับที่ 2 – ผิวปูนฉาบหลุดออกมา หรือ ผิวคอนกรีตบางส่วนหลุดไม่เกิน 1-2 ซม. แต่ยังไม่เห็นเหล็กเสริม การกะเทาะดังกล่าวยังไม่กระทบต่
อกำลังของโครงสร้าง สามารถใช้งานอาคารได้ -
ระดับที่ 3 – คอนกรีตหุ้มเหล็กกะเทาะออกมาทั้
งหมด เห็นเหล็กเสริมด้านใน แต่เหล็กเสริมยังตรงอยู่ ควรรีบซ่อมแซมโดยด่วน ก่อนใช้งานอาคาร -
ระดับที่ 4 – คอนกรีตกะเทาะถึงแกนเสาด้านใน เห็นเหล็กเสริมด้านใน บิด งอ ไม่ตรง เหล็กปลอกง้างออกหรือขาด เป็นความเสียหายที่รุนแรงที่สุด ไม่ควรเข้าใช้อาคาร แต่ควรซ่อมแซมและเสริมความแข็
งแรงเสาเสียก่อน
ศ.ดร.อมร อธิบายเพิ่มเติมว่า ความเสียหายระดับที่ 4 มีผลกระทบต่อกำลังรับน้ำหนั
ศ.ดร.อมร เน้นย้ำว่า ความเสียหายระดับที่ 4 เป็นระดับที่รุนแรงที่สุด การซ่อมแซม ไม่ใช่เพียงแค่เอาปูนไปแปะเท่
ทั้งนี้ แนวทางที่แนะนำเป็นเพียงเบื้