จากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านสุขภาพของประชากรข้ามชาติ ประจำปี 2562 พบว่า นโยบายประกันสุขภาพแรงงานข้ามชาติไทย ถือว่า ค่อนข้างก้าวหน้าพอสมควร ทัดเทียมกับหลายประเทศในยุโรป แต่ก็มีประเด็นที่อาจจะเรียนรู้ได้จากประเทศอื่น เช่น การมีนโยบายคุ้มครองเฉพาะโรคที่เป็นภัยทางสาธารณสุขโดยไม่ขึ้นกับสถานะบุคคล
ตีแผ่ชีวิตต้องอยู่ (เพื่อ) รอด ของคน (เคย) ติดคุก ขายตัวเลี้ยงชีพ เมื่อมีความจำเป็น จึงยากจะปฏิเสธ
เหลียวหลังแลหน้า ใครเฝ้าระวัง ‘อนาคตผู้ถูกค้ามนุษย์’ ในวันที่ไทยไม่มีใบเหลือง ในภาคประมง -TIP Report อยู่เทียร์ 2 เผยสถิติคดีพ.ศ. 2557-61 ปีไหนมีมากที่สุด พร้อมถอดบทเรียนกระบวนการยุติธรรมคุ้มครองเยียวยาผู้เสียหาย
กางข้อมูลก่อนรัฐตัดสินใจ ‘ขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำ’ ม.ร.ว.จัตุมงคล คาดทำได้ ปี 63 ไม่รับปาก 400 บ./วัน นักวิชาการทีดีอาร์ไอ ย้ำชัด ประกันรายได้ 1 หมื่น -จ่ายประกันสังคมแทน สร้างภาระพื้นที่คลังตึงตัว ปชช.เสพติดรัฐสวัสดิการ หวั่นกระทบเอสเอ็มอี แนะเลี่ยงแบบก้าวกระโดด
ความแตกต่างของค่าจ้างระหว่างแรงงานที่มีลูก และไม่มีลูก ทั้งชายและหญิงในประเทศไทย มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดคำถามว่า เป็นผลมาจากการขาดการสนับสนุนของภาครัฐในการเลี้ยงดูลูกอย่างเพียงพอ ทำให้แรงงานทั้งชายและหญิงต้องลดเวลาทำงานเพื่อไปดูแลลูก และก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อค่าจ้างของแรงงานทั้งสองกลุ่มหรือไม่
กรมบัญชีกลางพร้อมจ่ายบำเหน็จดำรงชีพให้ผู้รับบำนาญที่มีอายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป ตามกฎกระทรวงกำหนดอัตราและวิธีการรับบำเหน็จดำรงชีพ พ.ศ. 2562 ซึ่งผู้รับบำนาญ สามารถยื่นขอรับบำเหน็จดำรงชีพ ในจำนวนเงินที่ยังไม่ครบตามสิทธิได้ รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 500,000 บาท ได้ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 เป็นต้นไป
องค์การแพลน ชู 42 โรงงานต้นแบบปฏิวัติอุตสาหกรรมประมงให้จ้างงานเป็นธรรม หลังพบข้อมูลแรงงานกว่า 302,000 คน มีมากถึง 36% เข้าไม่ถึงบริการขั้นพื้นฐานด้านสุขภาพ พร้อมเปิด 4 งานวิจัยหยุดห่วงโซ่ค้ามนุษย์ หวังช่วยลูกหลานแรงงานข้ามชาติรับการศึกษา
'เเก้มลิงหนองเลิงเปือย' หล่อเลี้ยงทุกชีวิต จ.กาฬสินธุ์ ก่อเกิดชุมชนเข้มเเข็ง 'บ้านธนบุรี' ปลูกผักปลอดสารพิษ เลี้ยงชีพ เพิ่มรายได้