เวทีวิชาการ
-
เปิดเอกสาร สมช.ตอบ BRN ใช้ภาษาการทูต ยื่นกลับ 2 ข้อเบาหวิวไร้กดดัน
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 22 พฤศจิกายน 2556 เวลา 12:41 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราเปิดเอกสาร สมช.ตอบ 5 ข้อเรียกร้องบีอาร์เอ็น ใช้ถ้อยคำภาษาการทูต "เราได้ยอมรับเพื่อพูดคุยกันต่อไป" ขณะที่ 2 ข้อเรียกร้องที่ยื่นกลับ "เบาหวิว" เป็นแค่ยาหอมขอให้ทำงานร่วมกัน สอดรับข่าวจากทางฝั่งขบวนการอ้างไทยรับ 5 ข้อแล้ว ซ้ำยังแถมให้อีก 2 ข้อ ด้านสถานการณ์ในพื้นที่ยังระอุ กำลังผสมบุกจู่โจมค้นบ้านเป้าหมายที่รือเสาะ-ระแงะ นราธิวาส รวบ 9 ผู้ต้องสงสัยพร้อมยุทโธปกรณ์อื้อ
-
นิรโทษกรรมและการขออภัยโทษสำหรับมุสลิม
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 13 พฤศจิกายน 2556 เวลา 13:56 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราตลอดครึ่งเดือนที่ผ่านมา กระแสต้านร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมฯ ฉบับ "สุดซอย-เหมาเข่ง" แพร่กระจายไปทั่วประเทศ ไม่เว้นแม้แต่พื้นที่ที่มีปัญหาความไม่สงบอย่างสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
-
9 ปีตากใบ...ทำอย่างไรจึงจะลบประวัติศาสตร์บาดแผล
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 31 ตุลาคม 2556 เวลา 21:34 น.เขียนโดยแวลีเมาะ ปูซูปฏิเสธไม่ได้ว่าตลอด 1 ทศวรรษไฟใต้ เรื่องราวร้ายๆ ที่กลายเป็นโศกนาฏกรรมและถูกพูดถึงมากที่สุดกรณีหนึ่งคือ "เหตุการณ์ตากใบ" ซึ่งหมายถึงเหตุการณ์สลายการชุมนุมที่หน้า สภ.ตากใบ จ.นราธิวาส เมื่อวันที่ 25 ต.ค.2547
-
ถอดบทเรียน"หนึ่งปีแท็บเล็ต"ชายแดนใต้... ป.1ยังเด็กไป - ไร้เนื้อหาสอดคล้องท้องถิ่น
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 23 ตุลาคม 2556 เวลา 21:30 น.เขียนโดยเลขา เกลี้ยงเกลา, แวลีเมาะ ปูซูผ่านมาแล้วกว่า 1 ปีกับนโยบาย One Tablet per Child หรือโครงการแจกแท็บเล็ตให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 (ป.1) ทั่วประเทศ ต้องบอกว่ามีเสียงวิพากษ์วิจารณ์หลากหลาย ทั้งสนับสนุนและคัดค้าน รวมทั้งติเพื่อก่อ
-
จาก "สื่อสงคราม" สู่ "สื่อสันติภาพ" พลวัตข่าวไฟใต้กับบทบาทใหม่ของสื่อประชาสังคม
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 13 ตุลาคม 2556 เวลา 23:01 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรในการเสวนาหัวข้อ "บทบาทสื่อในพื้นที่อ่อนไหวต่อความมั่นคง" เมื่อวันอังคารที่ 8 ต.ค.2556 ที่โรงแรมเดอะสุโกศล กรุงเทพฯ ผู้ร่วมเสวนาหลายคนได้วิพากษ์การทำหน้าที่ของสื่อต่อสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งมีลักษณะเป็น "สื่อสงคราม" พร้อมข้อเสนอก้าวสู่การเป็น "สื่อสันติภาพ" เพื่อลดเงื่อนไขการใช้ความรุนแรง
-
สิทธิความเป็นเจ้าของ-ปกครองพิเศษ...หลักเขตอยู่ตรงไหน?
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 07 ตุลาคม 2556 เวลา 08:05 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราเป็นเรื่องที่น่าพิจารณาพอสมควร...เพราะในขณะที่บีอาร์เอ็นส่งข้อเรียกร้องถึงรัฐบาลไทยขออ้าง "สิทธิความเป็นเจ้าของ" และ "เขตปกครองพิเศษ" (ภายใต้รัฐธรรมนูญ) ในดินแดนที่เรียกว่า "ปาตานี" โดยระบุขอบเขตกว้างๆ ว่าหมายถึงพื้นที่ จ.ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และสงขลา นั้น
-
ถอดบทเรียนเจรจา"อาเจะห์-ไทย" นักวิชาการหนุนชายแดนใต้"ปกครองพิเศษ"
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 29 กันยายน 2556 เวลา 21:33 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรบนเวทีราชดำเนินสนทนา เรื่อง "ประสบการณ์กระบวนการสันติภาพ: บทเรียนจากต่างประเทศสู่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้" นักวิชาการจากหลายสำนักเห็นตรงกันว่าควรผลักดันกระบวนการพูดคุยระหว่างรัฐบาลไทยกับบีอาร์เอ็นกลุ่มนายฮัสซัน ตอยิบ ต่อไป แม้จะยังมีจุดอ่อนอีกหลายประการ ขณะเดียวกันก็ชี้ว่าข้อเรียกร้องเรื่องเขตปกครองพิเศษอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญไทย และรัฐบาลควรตอบข้อเรียกร้องทั้งหมดอย่างสร้างสรรค์
-
พลิก รธน.เทียบคำชี้แจงบีอาร์เอ็น..."ชัวร์" หรือ "มั่วนิ่ม"
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 24 กันยายน 2556 เวลา 07:36 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราเอกสารภาษาอังกฤษความยาว 38 หน้าของ "บีอาร์เอ็น" ที่มีเนื้อหาอธิบายข้อเรียกร้อง 5 ข้อที่ส่งถึงตัวแทนรัฐบาลไทยเมื่อไม่นานมานี้ และ "ทีมข่าวอิศรา" ได้ถอดความเป็นภาษาไทยแบบคำต่อคำ นำเสนอเอาไว้แล้วนั้น
-
"วรวิทย์-สุรเชษฐ์" แนะรัฐตั้งหลักก่อนตอบ BRN
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 22 กันยายน 2556 เวลา 00:58 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรในรายการ "คม ชัด ลึก" ทางสถานีโทรทัศน์เนชั่น แชนนัล ตอน "ใครปกครองพิเศษ" ออกอากาศเมื่อวันอังคารที่ 17 ก.ย.2556 ทั้งสมาชิกวุฒิสภา (ส.ว.) และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) จากจังหวัดชายแดนภาคใต้ เรียกร้องให้รัฐบาลมีความพร้อมมากกว่านี้ในการดำเนินกระบวนการพูดคุยสันติภาพกับบีอาร์เอ็น กลุ่มนายฮัสซัน ตอยิบ
-
เสนอมาตรการ 3 ระยะพลิกราคายาง อุดหนุน 2,520 บาทต่อไร่แก้ไม่ตรงจุด
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 16 กันยายน 2556 เวลา 07:02 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราปัญหาราคายางพารายังไม่จบ สัปดาห์นี้รัฐบาลยังต้องเผชิญกับการชุมนุมปิดถนนของเกษตรกรและกลุ่มสนับสนุนอีกหลายจุด แม้จะปรับเพิ่มเงินอุดหนุนปัจจัยการผลิตจาก 1,260 บาทต่อไร่ เป็น 2,520 บาทต่อไร่ รายละไม่เกิน 25 ไร่แล้วก็ตาม