เวทีวิชาการ
-
มุมมองสันติภาพ...รัฐ-สื่อ-ผู้หญิง และความเป็นจริงจากพื้นที่
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 25 มีนาคม 2556 เวลา 13:41 น.เขียนโดยเลขา เกลี้ยงเกลาเดือน มี.ค.เป็นอีกเดือนหนึ่งที่มีเวทีสัมมนาหลายเวที แต่เดือน มี.ค.ปีนี้ถือเป็นวาระพิเศษ เพราะเป็นช่วงที่รัฐบาลกำลังประกาศริเริ่มกระบวนการพูดคุยสันติภาพกับกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ นำโดย นายฮัสซัน ตอยิบ ที่อ้างตัวว่าเป็นแกนนำขบวนการบีอาร์เอ็น
-
พิมพ์เขียว8โมเดล ปกครองพิเศษชายแดนใต้
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 18 มีนาคม 2556 เวลา 12:47 น.เขียนโดยนาซือเราะ เจะฮะ, ปกรณ์ พึ่งเนตรการเปิดตัวลงนามเพื่อริเริ่มกระบวนการพูดคุยเจรจากับกลุ่มขบวนการที่อ้างอุดมการณ์แบ่งแยกดินแดนเพื่อดับไฟใต้ แม้จะมีบางฝ่ายไม่ค่อยเห็นด้วยกับวิธีการ แต่ในเรื่องหลักการแล้ว ไม่มีใครปฏิเสธ
-
ประเมินวงถกบีอาร์เอ็น กับ3ประเด็นที่ต้องคุย
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 15 มีนาคม 2556 เวลา 07:54 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราแค่ไม่ถึงครึ่งเดือนหลังพิธีลงนามริเริ่มกระบวนการพูดคุยสันติภาพดับไฟใต้กับบุคคลที่อ้างว่าเป็นแกนนำกลุ่มบีอาร์เอ็น บรรยากาศในสังคมไทยบางส่วน โดยเฉพาะสังคมการเมืองก็เริ่มตึงเครียดและถกเถียงกันแล้วในเรื่อง "เขตปกครองพิเศษ"
-
เสียงจากคนในรั้วมหาวิทยาลัยชายแดนใต้... อย่าประทับตรา "โจรใต้" กับผู้คิดต่าง
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 06 มีนาคม 2556 เวลา 12:07 น.เขียนโดยเลขา เกลี้ยงเกลายังคงเป็นประเด็นวิพากษ์วิจารณ์ในพื้นที่ชายแดนใต้ตีคู่มากับกระบวนการพูดคุยสันติภาพกับขบวนการบีอาร์เอ็น นั่นก็คือการนำเสนอรายงานพิเศษของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส ว่าด้วยเรื่อง "นักศึกษาถูกชักจูงเป็นแนวร่วม" พาดพิงขบวนการนิสิตนักศึกษาทั้งในและนอกพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ว่ามีความเกี่ยวโยงในลักษณะเป็น "ปีกการเมือง" ของขบวนการ บีอาร์เอ็น โคออร์ดิเนท
-
ต้านสกู๊ป"พีบีเอส"บานปลาย...กับการเปิดพื้นที่ "สื่อ-มหาวิทยาลัย" ให้คนทุกกลุ่ม
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 05 มีนาคม 2556 เวลา 12:55 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราท่ามกลางกระแสพูดคุยสันติภาพระหว่าง "ตัวแทนรัฐไทย" กับ "ตัวแทนกลุ่มผู้ที่เห็นต่างจากรัฐ" และแกนนำขบวนการที่อ้างอุดมการณ์แบ่งแยกดินแดน กลับมีเหตุการณ์ที่ "สวนทางสันติภาพ" เกิดขึ้นที่ชายแดนใต้ อันสืบเนื่องจากการทำหน้าที่สื่อของสถานีโทรทัศน์สาธารณะอย่างไทยพีบีเอส
-
ชาวบ้านหวั่นสันติภาพกำมะลอ สันติบาลชี้เริ่มพูดคุยดีกว่ารอป่วนรายวัน
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 01 มีนาคม 2556 เวลา 03:39 น.เขียนโดยนาซือเราะ, อับดุลเลาะ, ปกรณ์แม้กระบวนการพูดคุยสันติภาพเพื่อดับไฟใต้จะเริ่มนับหนึ่งแล้ว ถึงขั้นมีการลงนามระหว่างฝ่ายความมั่นคงไทยกับบุคคลที่อ้างว่าเป็นแกนนำขบวนการบีอาร์เอ็น ซึ่งนับเป็นนิมิตหมายอันดี แต่ก็ปฏิเสธไม่ได้ว่ากระบวนการนี้ขาดการมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน ทำให้ผู้คนในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ไม่เชื่อมั่นว่าสันติภาพจะเกิดขึ้นจริง
-
วงเสวนาปม"มะรอโซ"ที่ปัตตานี ทนายจี้ตรวจสอบหมายจับคดีความมั่นคง
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 00:25 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราในงานเสวนาเรื่อง "ปริศนาความรุนแรง ณ ปาตานี" ซึ่งจัดโดยคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี (ม.อ.ปัตตานี) ร่วมกับปาตานี ฟอรั่ม วิทยุร่วมด้วยช่วยกันดีสลาตัน และองค์กรภาคีภาคประชาสังคมกว่า 30 องค์กร ที่ ม.อ.ปัตตานี เมื่อวันเสาร์ที่ 23 ก.พ.2556 นั้น
-
ปัญหาชายแดนใต้...อย่าแบ่งข้างเชียร์เหมือนสนามมวย
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 11:31 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตร"เมื่อวันที่ 15 ก.พ.ได้เข้าไปเยี่ยมบ้านของผู้เสียชีวิตหลายราย ก่อนจะกลับภรรยาของผู้เสียชีวิตบางคนเดินมาขอจับมือ และบอกว่าพี่เข้าใจใช่ไหมว่าพวกหนูรู้สึกอย่างไร"
-
ปั้นคะแนน "โอเน็ต" ชายแดนใต้...ข้อกล่าวหากับคำชี้แจง
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 08 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 09:26 น.เขียนโดยปรัชญา โต๊ะอิแต, ปกรณ์ พึ่งเนตรห้วงเวลานี้ (วันที่ 2-3 ก.พ. และ 10-11 ก.พ.) ทุกจังหวัดทั่วประเทศกำลังจัดสอบ "โอเน็ต" ประจำปีการศึกษา 2555 กันอยู่ แต่ที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีการตั้งข้อสังเกตถึงคะแนนสอบ "โอเน็ต" ของเด็กในพื้นที่เมื่อปีที่แล้วว่าอาจมีความไม่โปร่งใส เพราะคะแนนน่าจะสูงเกินจริง
-
เสียงจากครูใต้..."สถานการณ์น่ากลัว แต่ก็ต้องไปสอนเพราะนักเรียนคอยอยู่"
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 23 มกราคม 2556 เวลา 23:48 น.เขียนโดยเลขา เกลี้ยงเกลาเปิดศักราชใหม่มาเพียง 23 วันก็เกิดเหตุการณ์สังหารครูขึ้นอีกครั้ง คราวนี้เกิดขึ้นที่โรงเรียนบ้านตันหยง ต.บาเระใต้ อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส ทั้งๆ ที่ครูเพิ่งร่วมกิจกรรม "วันครู" กันมาได้ไม่นาน