เวทีวิชาการ
-
เปิดตัวเลขการค้า 2 ด่านสะเดาปีละ 5 แสนล้าน ปัจจัย BRN พ่วงพื้นที่หยุดยิง?
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 16 กรกฎาคม 2556 เวลา 12:45 น.เขียนโดยศักดา เสมอภพ, อับดุลเลาะ หวังหนิคำแถลงความตกลงยุติเหตุรุนแรงช่วงรอมฎอน 40 วันที่ชายแดนใต้ระหว่างรัฐบาลไทยกับบีอาร์เอ็น ถูกตั้งคำถามอย่างกว้างขวางถึงการระบุขอบเขตพื้นที่ของความตกลงว่าครอบคลุม 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือ จ.ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส กับ 5 อำเภอของ จ.สงขลา คือ อ.จะนะ เทพา สะบ้าย้อย นาทวี และสะเดา ทั้งๆ ที่ อ.สะเดา ไม่ได้เป็นพื้นที่เกิดสถานการณ์ความไม่สงบ และรัฐบาลไม่ได้ประกาศใช้กฎหมายพิเศษไม่ว่าฉบับใด
-
สิ่งที่ต้องทำควบคู่กับ "ข้อริเริ่มสันติภาพช่วงรอมฎอนปี 2013"
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 14 กรกฎาคม 2556 เวลา 12:58 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราอุสตาซอับดุชชะกูรฺ บินชาฟิอีย์ (อับดุลสุโก ดินอะ) ผู้ช่วยผู้จัดการโรงเรียนจริยธรรมศึกษามูลนิธิ อ.จะนะ จ.สงขลา เขียนบทความแสดงความคิดเห็นนำเสนอในบล็อกโอเคเนชั่น เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องทำควบคู่ไปกับ "ข้อริเริ่มสันติภาพช่วงรอมฎอน"
-
เลขาฯโอไอซีหนุนข้อตกลงหยุดยิงชายแดนใต้ หวังไทยขยายวงพูดคุยกลุ่มอื่น
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 09 กรกฎาคม 2556 เวลา 20:51 น.เขียนโดยศูนย์ข่าวภาคใต้เลขาธิการโอไอซี แถลงผ่านเว็บไซต์หนุนข้อตกลงหยุดยิงชายแดนใต้ช่วงรอมฎอน หลังได้รับข้อมูลจากการพบปะหารือกับนายกฯยิ่งลักษณ์ เมื่อ 6 ก.ค. ลั่นพร้อมเป็นหุ้นส่วนในกระบวนการสู่สันติภาพ หวังขยายวงพูดคุยกับกลุ่มอื่นด้วย ด้านผู้นำไทยรับปากเดินหน้ายกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ 5 พื้นที่
-
จุฬาฯออกแนวปฏิบัติ จนท.ช่วงรอมฎอน "ผ่อนปรนเวลางาน-กวดขันอบายมุข"
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 06 กรกฎาคม 2556 เวลา 09:59 น.เขียนโดยอับดุลเลาะ หวังหนิ, อะหมัด รามันห์สิริวงศ์นายอาศิส พิทักษ์คุมพล จุฬาราชมนตรี ได้ออกเอกสาร "ข้อเสนอแนะของจุฬาราชมนตรี พ.ศ.2556 ว่าด้วยแนวทางปฏิบัติของส่วนราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ในเดือนรอมฎอน" เพื่อให้ทุกส่วนราชการถือปฏิบัติในห้วงเดือนแห่งการถือศีลอด ประจำปีฮิจเราะห์ศักราช 1434 ที่กำลังจะมาถึงในอีกไม่กี่วันข้างหน้านี้
-
"ทีมเจรจา"ลุยเปิดเวทีรับฟัง เล็ง "ทำบางข้อ" เงื่อนไขบีอาร์เอ็น
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 29 มิถุนายน 2556 เวลา 21:18 น.เขียนโดยอะหมัด รามันห์สิริวงศ์, ปกรณ์ พึ่งเนตรทีมเจรจาสันติภาพเดินหน้าเปิดเวทีรับฟังทุกภาคส่วนก่อนสรุปคำตอบส่งบีอาร์เอ็นสัปดาห์หน้า แย้มอาจเลือกทำบางข้อเพื่อให้ประชาชนรับรู้รัฐบาลแก้ปัญหามาตลอด ยึดรัฐประศาสโนบายล้นเกล้ารัฐกาลที่ 6 ส่วนมาตรการปิดล้อมตรวจค้นช่วงรอมฎอน ฝ่ายความมั่นคงลดระดับทุกปีอยู่แล้ว
-
รู้จักตัวจริง"โอไอซี"ผ่านงานวิจัย กับข้อเสนอให้ไทยจับมือแก้ไฟใต้
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 25 มิถุนายน 2556 เวลา 06:01 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศรานับตั้งแต่ประเทศไทยเผชิญกับปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งประชากรส่วนใหญ่ในพื้นที่เป็นพี่น้องที่นับถือศาสนาอิสลาม ชื่อของ "โอไอซี" หรือ องค์การความร่วมมืออิสลาม ก็เริ่มคุ้นหูคนไทย
-
"สมเกียรติ"เขียนเฟซบุ๊คเตือนสื่ออย่าใช้ "รัฐไทย" ตามบีอาร์เอ็น
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 17 มิถุนายน 2556 เวลา 06:50 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศรานับตั้งแต่มีปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้เริ่มมีการสื่อสารเชิงโต้แย้งในแง่ความชอบธรรมของบูรณภาพแห่งดินแดนของประเทศไทยจากกลุ่มขบวนการที่ไม่ยอมรับอำนาจการปกครองของรัฐบาลไทย
-
โครงสร้างบีอาร์เอ็นทำ "เจรจา" จบยาก แนะจับตา "การเรียกร้องที่ไม่ใช้อาวุธ"
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 11 มิถุนายน 2556 เวลา 21:32 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรในการเสวนาหัวข้อ "ถอดรหัสบีอาร์เอ็นกับอนาคตการพูดคุยสันติภาพ" ซึ่งสมาคมนักข่าวนักหนังสือพิมพ์แห่งประเทศไทยร่วมจัดกับศูนย์เฝ้าระวังสถานการณ์ภาคใต้ เมื่อวันอังคารที่ 11 มิ.ย.2556 นั้น วิทยากรที่ร่วมวงเสวนาเห็นคล้ายกันว่า กระบวนการพูดคุยสันติภาพระหว่างรัฐไทยกับกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ นำโดยขบวนการบีอาร์เอ็น เพื่อแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ต้องใช้เวลาอีกยาวนานจากข้อจำกัดเรื่องโครงสร้างขอ ...
-
จากเวทีในพื้นที่ถึงเวทีเจรจา กับข้อเสนอแก้ปัญหา "โพสต์ บีอาร์เอ็น"
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 09 มิถุนายน 2556 เวลา 12:31 น.เขียนโดยนาซือเราะ เจะฮะ, อะหมัด รามันห์สิริวงศ์ตลอดหลายสัปดาห์ที่ผ่านมามีการจัดเวทีถี่ยิบในพื้นที่ชายแดนใต้ โดยเฉพาะเวทีของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือ ศอ.บต. เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนกลุ่มต่างๆ ในพื้นที่ที่มีข้อเสนอต่อโต๊ะพูดคุยสันติภาพ
-
แปลละเอียดคลิปบีอาร์เอ็น กับหลากหลายความเห็น "สงครามไซเบอร์"
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 31 พฤษภาคม 2556 เวลา 18:28 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศรายังคงถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์กันไม่จบสำหรับการปรากฏตัวผ่านคลิปวีดีโอที่เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ youtube หนึ่งในสื่อสังคมออนไลน์ชื่อดังอย่างถี่ยิบของแกนนำบีอาร์เอ็น "กลุ่มนายฮัสซัน ตอยิบ" ว่าพวกเขากำลังคิดอะไรและมีเป้าหมายอะไร ขณะที่ผู้รับผิดชอบฝ่ายรัฐไทยก็ยังคงใช้การให้สัมภาษณ์ตอบโต้แบบสะเปะสะปะเช่นเดิม