เวทีวิชาการ
-
แบกึ๋น กอ.รมน.แจงรากเหง้าไฟใต้ เงื่อนไข "ชนกลุ่มน้อย" - ธุรกิจเถื่อน"แหล่งทุน"
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 02 กรกฎาคม 2557 เวลา 20:42 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราโครงสร้างดับไฟใต้ในยุค "คืนความสุข" ปฏิเสธไม่ได้ว่าบทบาทของกองทัพที่ขับเคลื่อนอยู่ในกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) อยู่ในฐานะ "พระเอก"
-
ค้านทหารคุมดับไฟใต้เบ็ดเสร็จ จี้เพิ่มบทบาท ศอ.บต.-ภาคประชาสังคม
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 22 มิถุนายน 2557 เวลา 15:19 น.เขียนโดยเลขา เกลี้ยงเกลา, สมศักดิ์ หุ่นงามการเข้าควบคุมอำนาจการปกครองของทหารในนามคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เที่ยวนี้ แตกต่างจากเมื่อครั้งที่คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข หรือ คปค.ยึดอำนาจเมื่อปี 49 หลายประเด็น
-
ศอ.บต.ขุด4รากเหง้าไฟใต้ กับ6แนวทางแก้ไข เลี่ยงกับดักรุนแรง
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 12 มิถุนายน 2557 เวลา 07:54 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราในขณะที่ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังคงใช้ "กลไกเดิม" ในการจัดการปัญหา โดยที่ยังไม่มี "กลไกใหม่" หรือ "กลไกพิเศษ" จากคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เหมือนกับอีกหลายๆ ปัญหา
-
เปิดรายงานดับไฟใต้ยุค "ทวี" ยันบูรณาการดี จับมือดัน426โครงการพัฒนา
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 08 มิถุนายน 2557 เวลา 00:20 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราในขณะที่หน่วยงานด้านความมั่นคงบางหน่วยมองว่า กระบวนการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของภาครัฐยังไม่เป็นเอกภาพ โดยเฉพาะบทบาทของศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ที่ค่อนข้างสวนทางและไม่ค่อยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับกองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.)
-
จากสังหาร "คน สธ." ถึงบึ้มโรงพยาบาล ความรุนแรง "ล้ำเส้น" ที่ชายแดนใต้
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 02 มิถุนายน 2557 เวลา 20:43 น.เขียนโดยแวลีเมาะ, อับดุลเลาะ, สุเมธสถานการณ์ความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาคใต้ปีนี้ต้องยอมรับว่าวิกฤติหนัก เหยื่อความรุนแรงจำนวนมากเป็นผู้บริสุทธิ์ โดยเฉพาะเด็ก เยาวชน และผู้หญิง หากพิจารณาตามกลุ่มอาชีพ "ครู" ตกเป็นเป้าต่อเนื่องอยู่แล้ว และปีนี้ก็ถูกยิงเฉลี่ยเดือนละคน
-
"คนสาธารณสุข"ชายแดนใต้เสี่ยง! กลุ่มภรรยาทหาร-ตร.ตกเป็นเป้า
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 04 พฤษภาคม 2557 เวลา 00:46 น.เขียนโดยสุเมธ ปานเพชร, ปกรณ์ พึ่งเนตรเหตุจ่อยิงเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหญิงที่ อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส เมื่อวันอังคารที่ 29 เม.ย.2557 ไม่ใช่เรื่องธรรมดาแน่ๆ...
-
คดีอัลรูไวลี่ยังไม่จบ....สมาพันธ์คณะกรรมการอิสลามใต้แถลงจี้อัยการยื่นอุทธรณ์
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 17 เมษายน 2557 เวลา 06:49 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราสมาพันธ์คณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด 15 จังหวัดภาคใต้ ร่วมประชุมและออกแถลงการณ์เรียกร้องให้อัยการยื่นอุทธรณ์คดีอุ้มฆ่า นายโมฮัมเหม็ด อัลรูไวลี่ นักธุรกิจชาวซาอุดีอาระเบีย ที่ศาลอาญาพิพากษายกฟ้องกลุ่มจำเลยซึ่งเป็นอดีตตำรวจ 5 นาย
-
ได้เวลาดูแลตัวเอง? บช.ก.ออกคู่มือ "อยู่อย่างไรให้ปลอดภัยที่ชายแดนใต้"
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 11 เมษายน 2557 เวลา 08:56 น.เขียนโดยวิศิษฏ์ ชวนพิพัฒน์พงศ์สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ช่วงนี้กลับมารุนแรงขึ้นอีกครั้ง หลังจากเกิดเหตุระเบิดครั้งใหญ่กลางเมืองยะลา และเหตุฆ่าสังหารแบบสะเทือนขวัญติดๆ กันหลายกรณี เช่น กราดยิงชาวบ้านขณะกำลังตักบาตรที่ อ.แม่ลาน จ.ปัตตานี หรือฆ่าตัดคอผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหญิงเสียชีวิตพร้อมกับผู้ใหญ่บ้านและผู้ช่วยอีกคนหนึ่ง ขณะเดินทางกลับจากประชุมที่ อ.บันนังสตา จ.ยะลา เป็นต้น
-
เจาะที่มา "มุสลิมต่างด้าว" ตำรวจอ้าง "อนาโตเลีย" ฝ่ายมั่นคงยัน "อุยกูร์"
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 27 มีนาคม 2557 เวลา 15:48 น.เขียนโดยสุเมธ ปานเพชร, ปกรณ์ พึ่งเนตรผ่านมาครึ่งเดือนนับตั้งแต่มีการจับกุมมุสลิมต่างด้าวไม่ระบุสัญชาติได้ในป่ายางพารา ต.กำแพงเพชร อ.รัตภูมิ จ.สงขลา ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง (ตม.) ได้พยายามสร้างความกระจ่างเกี่ยวกับเชื้อชาติและที่มาของมุสลิมกลุ่มนี้ ทว่ายังคงมีบางประเด็นถูกตั้งคำถาม
-
ชำแหละ 3 ยุค "อุ้มฆ่า-อุ้มหาย" มูลเหตุ "การเมือง-ไฟใต้-เห็นต่าง"
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 13 มีนาคม 2557 เวลา 08:18 น.เขียนโดยศักดา เสมอภพมูลนิธิยุติธรรมเพื่อสันติภาพ คณะกรรมการนักนิติศาสตร์สากล (ไอซีเจ) และกองทุนรางวัลสมชาย นีละไพจิตร ร่วมกันจัดงาน "10 ปีทนายสมชาย นีละไพจิตร สูญหายโดยถูกบังคับ" มีการนำเสนองานวิจัยเรื่อง "คำสาปของความคลุมเครือ: การบังคับให้สูญหายในฐานะนวัตกรรมความรุนแรงทางการเมือง" ซึ่งอธิบายปรากฏการณ์ "อุ้มฆ่า-อุ้มหาย" ในประเทศไทยอย่างน่าสนใจ