สื่อสารมวลชน
-
ส่องปัญหาเหยี่ยวข่าวอาชญากรรม ยุคหลอมรวมสื่อ ‘ค่าตอบแทนยังต่ำ-บก.จินตนาการสูง’
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 07 กันยายน 2555 เวลา 17:41 น.เขียนโดยisranewsช่วงระหว่างวันที่ 31 สิงหาคม-2 กันยายนที่ผ่านมา มูลนิธิเอเชีย ร่วมกับสถาบันอิศรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย จัดโครงการอบรมหลักนิติวิทยาศาสตร์และข้อควรรู้ในการทำข่าวอาชญากรรม ให้กับนักข่าวสายอาชญากรรมทั้งจากส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น จำนวน 28 คน ที่โรงแรมพักพิงอิงทาง จ.นนทบุรี
-
ศึกชิงมวลชนในอากาศ จากปรากฎการณ์ “สายล่อฟ้า”
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 13 มีนาคม 2555 เวลา 17:00 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรี“ตอนนี้ผมคิดว่า รายการสายล่อฟ้ามีแฟนคลับมากที่สุดรายการหนึ่ง อาจจะมากเป็นอันดับหนึ่งของรายการในเคเบิ้ลทีวีในตอนนี้ เรื่องนี้ผมไม่ได้ประเมินเอง แต่มีผู้เชี่ยวชาญบอก ซึ่งเขายังบอกกับผมอีกว่า ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา หากประเมินรายการในเคเบิ้ลทีวีทุกช่อง เรตติ้งรายการสายล่อฟ้าถือว่าสูงสุด”ชวนนท์ อินทรโกมาลย์สุต หนึ่งในสามพิธีกรรายการสายล่อฟ้า กล่าวอย่างภาคภูมิใจในผลตอบรับที่เกิดขึ้นของรายการ
-
นักวิชาการส่องสื่อ กระจก ในสถานการณ์ เลือกข้าง
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 23 สิงหาคม 2554 เวลา 12:51 น.เขียนโดยทีม thaireformท่ามกลางความขัดแย้งของสังคม ที่ต่างเลือกฝ่ายเลือกข้าง ถือว่าเป็นโจทย์ใหญ่สำหรับทุกรัฐบาล ซึ่งจะต้องเข้ามาคลายปมปัญหาเหล่านี้ การทำหน้าที่ของสื่อสารมวลชน ในยุคความขัดแย้ง ถูกตั้งคำถามมากมายถึงความเป็นกลางดังโพลหลายสำนักสะท้อนออกมา หลายสื่อ หลายค่ายนำเสนอข่าวสารตามจุดยืนของตัวเองอย่างเด่นชัด ขณะเดียวกันก็มีเรื่องร้อนๆ เข้ามากรณีฉาว อีเมล์ “สินบนสื่อ” ของรองโฆษกพรรคเพื่อไทย ที่พาดพิงยังนักข่าวภาคสนา ...
-
สื่อในภาวะเลือกข้าง ผู้บริโภคหลงทางระวังเป็นกระบอกเสียงนักการเมือง
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 27 มิถุนายน 2554 เวลา 14:20 น.เขียนโดยทีม thaireformมีคำถามมากมายกับการนำเสนอข่าวของสื่อในช่วงการหาเสียงเลือกตั้ง โดยเฉพาะหนังสือพิมพ์ที่เคยเป็น “เสาหลัก” รายงานข้อมูลอย่างรอบด้านตรงไปตรงมา แม้บางฉบับจะมีจุดยืนทางการเมืองชัด แต่ยังไม่เด่นชัดเท่ากับ ยุคการต่อสู้ทางการเมืองที่เข้มข้นครั้งนี้ หนังสือพิมพ์ถูกมองว่า เลือกข้าง บางสำนักค่อนข้างสุดโต่ง ไม่นำเสนอข้อมูลอีกฝ่ายอย่างเท่าเทียมกัน จนถูกวิจารณ์ว่า เป็นกระบอกเสียงของขั้วการเมือง “สื่อเลือกข้าง”ถู ...
-
“สื่อ” พูดถึงประเทศไทยหลังการเลือกตั้ง
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 10 มิถุนายน 2554 เวลา 19:22 น.เขียนโดยณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์-ณัฎฐพัชร์ ทัศนรุ่งเรืองนับเวลาจากนี้ไปเหลืออีกเพียง 20 กว่าวัน สำหรับการเลือกตั้งครั้งสำคัญที่จะมีผลต่อประเทศไทย และเป็นห้วงเวลาเดียวกันกับที่ผู้คนจากหลายภาคส่วน ต่างแสดงความห่วงใย ปนความกังวลใจลึกๆ ว่า ภายหลังการเลือกตั้งในวันที่ 3 กรกฎาคม ผ่านพ้นไปแล้ว ประเทศไทยจะเดินหน้าไปทางไหน ความขัดแย้ง การก่อกวนด้วยวิธีต่างๆ ในช่วงที่ผ่านทั้งในสภาและนอกสภา จะสงบลงหรือไม่ อย่างไร
-
“สังคายนา” หลักสูตรนิเทศศาสตร์ ทวงคืนยุค "กบฏทางความคิด"
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 20 กันยายน 2553 เวลา 18:53 น.เขียนโดยPisan -
คำต่อคำ ปฏิรูปสื่อในมุม “สนธิญาณ ชื่นฤทัยในธรรม VS เทพชัย หย่อง”
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 06 กันยายน 2553 เวลา 13:07 น.เขียนโดยทีม Thaireformผลพวงจากเหตุการณ์ความรุนแรงในช่วงที่ผ่านมา ได้กลายเป็นแรงกระเพื่อมให้ต้องมีการ "ปฏิรูปสื่อ" กันทั้งระบบ สื่อมีพลังทั้งเชิงบวกและเชิงลม ถือเป็นจิ๊กซอว์หนึ่งของสังคม เพื่อไม่ให้หน้าต่างแห่งโอกาสนี้ปิดไป คนในวงการสื่อเองก็ตื่นตัว เริ่มยอมรับและมีการพูดคุยกันในวงกว้างถึงสื่อในวิกฤต เริ่มมองเห็นสิ่งที่จำเป็นต้องแก้ไข จากบรรทัดนี้ไป เป็นคำสัมภาษณ์ 2 ผู้บริหาร "ทีวีดาวเทียม -ทีวีสาธารณะ" เพื่อตอบโจทย์.. ...
-
เจาะ "โลกไซเบอร์" วัดอุณหภูมิ "ไฟการเมือง"
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 31 กรกฎาคม 2553 เวลา 11:08 น.เขียนโดยณัฏฐพัชร์ ทัศนรุ่งเรือง“เรามาอยู่ที่บอร์ดประชาไทตั้งแต่หลังการปฏิวัติใหม่ๆ หลังห้องราชดำเนิน พันทิปถูกปิดไป เราสิงสถิตอยู่ที่นี่ไม่ไปไหนไม่ได้อีกเลย เป็นเวลา 3 ปี 6 เดือนแล้ว เสียใจ...ที่บ้านเราหายไป ทีนี้คงเร่ร่อนไปบ้านคนอื่นเรื่อยๆ แต่ก็ดีใจ...ที่เว็บบอร์ดของเรามีความสำคัญมากมายจนต้องสั่งปิดเลยทีเดียว”
-
โซเชียลมีเดียกับการศึกษา"ยุคฟ้า บ่ กั้น"
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 24 กรกฎาคม 2553 เวลา 22:08 น.เขียนโดยณัฏฐพัชร์ ทัศนรุ่งเรือง-อรปวีณ์ บัวชู“โซเชียล เทคโนโลยี ทำให้ข้อมูลทางการศึกษาถูกกระจายไปทั่วโลก การศึกษาจะไม่ถูกจำกัดอยู่แค่ในหนังสือ ในห้องเรียน แต่อยู่ทุกที่...ที่มีอุปกรณ์ดิจิตอล มีอินเตอร์เน็ต เข้าถึงอินเตอร์เน็ตได้....ที่นั่นมีการศึกษา”
-
ขอโทษ-อย่ากลัวความจริง คำขอจาก “เครือข่ายพลังบวก”
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 20 กรกฎาคม 2553 เวลา 23:06 น.เขียนโดยPisan“เราทำอะไรผิดไปหรือเปล่า...รุนแรงไปหรือเปล่า...ฟังความข้างเดียวหรือเปล่า...ทำหน้าที่ของตัวเองหรือเปล่า... คิดถึงประชาชนหรือเปล่า...โกงหรือเปล่า..เอาเปรียบหรือเปล่า...ให้ปัญญาประชาชนหรือเปล่า..เสื่อมหรือเปล่า..รักเงินมากกว่าความถูกต้องหรือเปล่า...แล้วรอการช่วยเหลืออย่างเดียวหรือเปล่า...”