สื่อสารมวลชน
-
"สื่อ" สตาร์ท"ปฏิรูป"ชูกลยุทธ์ "ดีดนิ้วพร้อมกัน"
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 03 กรกฎาคม 2553 เวลา 22:22 น.เขียนโดยเยาวเรศ หยดพวง-อรปวีณ์ บัวชูปฏิเสธไม่ได้ว่า “สื่อมวลชน” เป็นอีกอาชีพที่ได้รับการวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนัก จากเหตุการณ์การชุมนุมทางการเมืองช่วงเดือนมีนาคม-พฤษภาคม 2553 ว่า มีส่วนสำคัญนำเสนอข่าวยุยง ปลุกปั่น และเป็นกลไกหนึ่งที่ทำให้บาดแผลแห่งความเกลียดชัง นับวันยิ่งถ่างขยายใหญ่ขึ้นในสังคมไทย
-
ปากคำ หมอ-พยาบาล ....นาทีระทึก เสื้อแดงบุกค้น รพ.จุฬา
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 03 พฤษภาคม 2553 เวลา 09:09 น.เขียนโดยPisanภาพที่ต้องจดจำ ค่ำคืนวันที่ 29 เม.ย. ที่ผ่านมา นายพายัพ ปั้นเกตุ ยกพลบุกเข้าไปตรวจค้นโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย ด้วยการอ้างว่ามีทหารมาซ่องสุมกำลังอยู่ข้างใน
-
ระดม “วิทยุชุมชน” 4 ภาค ร่วมขับเคลื่อนปฏิรูปการศึกษารอบ 2
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 15 เมษายน 2553 เวลา 00:00 น.เขียนโดยจุไรรัตน์ พงศาภิชาติในการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2560) ซึ่งครั้งนี้ รัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์มุ่งเน้นในเรื่องของการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน เพื่อให้คนไทยทุกคนได้เรียนรู้ตลอดชีวิต ทั้งในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน และตามอัธยาศัยอย่างมีคุณภาพในทุกระดับชั้น
-
Peace Journalism สิ่งที่สื่อทีวีขาดหายไป
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 31 มีนาคม 2553 เวลา 09:31 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีแม้การเจรจาแก้วิกฤติการเมือง 2 วัน ระหว่างฝ่ายรัฐบาลกับแกนนำม็อบเสื้อแดง จะจบลงแบบที่หลายคนไม่ค่อยประทับใจ เพราะยังปลดล็อกวิกฤติการเมืองไม่ได้ แต่ก็ต้องบันทึกไว้เป็นประวัติศาสตร์ที่มีการเจรจาระหว่างหัวหน้ารัฐบาลกับคณะผู้นำในการชุมนุม ถ่ายทอดสดทางโทรทัศน์ไปทั่วประเทศ
-
จินตนาการปฏิรูปสื่อ ยุค 2020
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 22 ธันวาคม 2552 เวลา 23:24 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีลองนึกภาพย้อนหลังกลับไป 10 ปีที่แล้วมีเหตุการณ์บางอย่างที่เราไม่คิดว่าวันนี้จะเกิดขึ้น 10 ปีที่แล้วแม้จะมีโทรศัพท์มือถือใช้ แต่ก็เทียบไม่ได้กับไอโฟน แบล็กเบอรี่ (BlackBerry) ยุคปัจจุบัน
-
เส้นทางสู่สังคมอุดมปัญญา กับเหยื่อ‘ลือผ่านจอ’ 24 ล้านคน
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 25 พฤศจิกายน 2552 เวลา 10:45 น.เขียนโดยมัณฑนา แจ่มศรีในแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ฉบับที่ 2 (2552-2556 ) ที่เร่งผลักดันให้ประเทศไทยเป็นสังคมอุดมปัญญาด้วยไอซีที หรือ Smart Thailand ตั้งเป้า ประชาชนอย่างน้อยร้อยละ 50 เข้าถึงไอซีทีได้อย่างมีวิจารณญาณ ขณะที่สำนักงานสถิติแห่งชาติ สำรวจพบ ปี 2551 มีประชาชนแค่ร้อยละ 8 ที่เข้าถึงและรู้ว่าตัวเองต้องการใช้อะไรในอินเทอร์เน็ต รู้วิธีค้นข้อมูลเพื่อนำมาใช้ในชีวิตประจำวัน ท่ามกลางความแตกแยกของคนในสัง ...