สถานการณ์โควิด-19 ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังมีความเคลื่อนไหวที่น่าสนใจ นราธิวาสมีคนไทยจากมาเลย์ข้ามแดนผิดกฎหมายเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ยะลาตัวเลขผู้ป่วยพุ่งสูงติดอันดับต้นๆ ของประเทศ ขณะที่ปัตตานีไม่พบผู้ป่วยใหม่ครบ 7 วัน
เหตุการณ์ลอบวางระเบิด "คาร์บอมบ์" บริเวณหน้าศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ หรือ ศอ.บต. นับว่ามีแผนประทุษกรรมที่วางมาอย่างรอบคอบ และซับซ้อนไม่น้อยเลย
ควันหลงจากการแถลงผลสำรวจสันติภาพชายแดนใต้ หรือ Peace Survey ครั้งที่ 5 เมื่อวันสุดท้ายของเดือน ก.พ.ปี 63 มีข้อสังเกตน่าสนใจเกี่ยวกับการตอบคำถามว่าอะไรคือสาเหตุของความรุนแรงที่ปลายด้ามขวาน
แง้มสถิติไฟใต้ตลอดปี 62 ที่เก็บรวบรวมโดยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ พบการก่อเหตุรุนแรงในเชิงปริมาณลดลงกว่าปีก่อนหน้า แต่ความสูญเสียเพิ่มขึ้น
ความกังวลใจของครอบครัวผู้เสียชีวิต 3 รายจากปฏิบัติการของเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงบนเขาอาปี ต.บองอ อ.ระแงะ จ.นราธิวาส นั้น นอกจากจะมีเรื่องความบริสุทธิ์ของผู้ตายที่มีการยืนยันว่าไม่ใช่สมาชิกขบวนการก่อความไม่สงบแล้ว
เหตุระเบิดคาร์บอมบ์หน้าอาคารโรงพักเก่าของ สภ.ไม้แก่น ตั้งอยู่หมู่ 4 ต.ไทรทอง อ.ไม้แก่น จ.ปัตตานี เมื่อคืนวันที่ 31 ต.ค.62 นับเป็นการก่อเหตุระเบิดในรูปแบบ "คาร์บอมบ์" ครั้งที่ 2 ในรอบปี 2562
รองโฆษกสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เผยคดีลอบวางระเบิดสังหารและระเบิดเพลิงในเขตกรุงเทพฯ คณะพนักงานสืบสวนสอบสวนมีความเห็น "ควรสั่งฟ้อง" หลังรวบรวมพยานบุคคลกว่า 250 ปาก พยานเอกสารและนิติวิทยาศาสตร์ทั้งหมด 30 แฟ้ม ขณะที่ผู้ต้องหาที่ยังหลบหนีอีก 18 คน ถูกออกหมายแดง "ตำรวจสากล" แจ้ง 194 ประเทศเฝ้าระวังและช่วยติดตามจับกุม
ระยะหลังเวลาเกิดเหตุรุนแรงที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มักได้ยินข่าว "ชุดคุ้มครองตำบล" หรือ "ชคต." ตกเป็นเป้าบ่อยครั้ง
คณะกรรมการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉินอนุมัติขยายเวลาประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ในพื้นที่ชายแดนใต้ต่อไปอีก 3 เดือน รวมแล้ว 14 ปีเต็ม 9 รัฐบาลแต่ไฟใต้ก็ยังไม่ดับ แม้สถิติเหตุรุนแรงจะลดลงอย่างมีนัยสำคัญก็ตาม
ผ่านเหตุระเบิดป่วนกรุงมาได้ 8 วัน คนกทม.ยังไม่เลิกหลอน พบระเบิดเพลิงเพิ่มอีก 1 ลูก เป็นระเบิดชุดเดียวกับที่คนร้ายลอบวางเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ตั้งเวลาระเบิดเช้ามืดวันที่ 2 แต่ระเบิดไม่ทำงาน