ฉบับเต็ม! ผลสอบ อปท.6จว.ซื้อเรือกำจัดผักตบลำละ 8 หมื่น ยุคบิ๊กตู่ 'ของเหมือนกัน' แต่ราคาไม่เท่ากัน?
หมายเหตุ สำนักข่าวอิศรา (www.isranews.org) : เป็นรายงานผลการตรวจสอบการดำเนินงานโครงการกำจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ 2560 รวมวงเงิน 63.68 ล้านบาท ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายใต้การบริหารงาน รัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ที่ถูกสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) ตรวจสอบพบปัญหา การจัดซื้อเรือเพื่อนำมาใช้ในงานโครงการกำจัดผักตบชวาฯ ว่ามีการจัดซื้อในราคาที่แตกต่าง ทั้งที่เป็นครุภัณฑ์ที่มีคุณลักษณะเหมือนกัน โดยในส่วนพื้นที่ 6 จังหวัด ได้แก่ นครปฐม นนทบุรี ปทุมธานี สุพรรณบุรี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร ซึ่งมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 130 แห่ง เรือ จำนวน 172 ลำ งบประมาณรวมจำนวน 13.76 ล้านบาท มีเอกชนรายหนึ่ง ปรากฎชื่อเป็นคู่สัญญาจำหน่ายเรือตามโครงการฯ ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ 6 จังหวัด มากที่สุดจำนวน 58 แห่ง ขณะที่ราคาจำหน่ายเรือตามโครงการฯ มีความแตกต่างกัน ราคาจำหน่ายต่ำสุดอยู่ที่ลำละ 72,000 บาท และจำหน่ายในราคาสูงสุดลำละ 79,800 บาท ทั้งที่ เป็นการขายเรือที่มีลักษณะเหมือนกันทุกประการให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเดียวกัน และจังหวัดใกล้เคียง ไม่ได้มีความแตกต่างในเรื่องระยะทางการขนส่งมากนัก
....................
ผักตบชวาที่มีอยู่ตามแหล่งน้ำต่างๆ มีการเติบโตและแพร่กระจายอย่างรวดเร็วจนก่อให้เกิดปัญหาต่อระบบเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม สร้างความเดือดร้อนและส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพของประชาชน การแก้ไขปัญหาผักตบชวาของรัฐได้ดำเนินการมาอย่างยาวนานและมีการใช้งบประมาณเป็นจำนวนมาก แต่ยังไม่สามารถก้าจัดผักตบชวาให้หมดสิ้นไปได้
รัฐบาลภายใต้การบริหารงานของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ได้ตระหนักและเล็งเห็นถึงความสำคัญในการแก้ไขปัญหาผักตบชวา โดยมีแนวคิดที่จะแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง จึงได้มอบหมายให้กระทรวงมหาดไทย จัดทำแผนการกำจัดผักตบชวาประจำปี 2559 เพื่อบูรณาการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในระดับพื้นที่ในการแก้ไขปัญหาผักตบชวาอย่างเป็นรูปธรรม และมอบหมายให้พิจารณาจัดหาเรือท้องแบนพร้อมเครื่องยนต์และสนับสนุนค่าใช้จ่ายที่จำเป็นให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบเก็บผักตบชวาในพื้นที่อย่างต่อเนื่องเป็นภารกิจประจำทุกสัปดาห์เพื่อป้องกันมิให้ผักตบชวามีการเติบโตและขยายพันธุ์อีก
โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ 2560 งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบกลางเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น ให้ดำเนินโครงการกำจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งบประมาณจำนวน 67.38 ล้านบาท เพื่อจัดหาเรือท้องแบนไฟเบอร์กลาสพร้อมเครื่องยนต์และอุปกรณ์ประจำเรือ จำนวน ๘๓๔ ลำ ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ 31 จังหวัด จำนวน 539 แห่ง เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนำเรือไปใช้ประโยชน์ในการกำจัดผักตบชวาอย่างต่อเนื่องในพื้นที่ตามมาตรการป้องกันการแพร่กระจายของผักตบชวา ซึ่งจะทำให้การแก้ไขปัญหาผักตบชวาเป็นไปอย่างยั่งยืน
สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน เล็งเห็นความสำคัญของการใช้จ่ายงบประมาณในการแก้ไขปัญหาผักตบชวาตามโครงการดังกล่าว ซึ่งใช้งบประมาณในการดำเนินการสูง และกระจายไปยังพื้นที่จังหวัดต่างๆ มากกว่า 30 จังหวัด ทั่วประเทศ และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักที่จะต้องนำเรือตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์ในการเก็บผักตบชวาในแหล่งน้ำที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบเป็นภารกิจประจำทุกสัปดาห์จึงจะสามารถหยุดยั้งการเติบโตหรือขยายพันธุ์ของผักตบชวาได้ซึ่งในการดำเนินการอาจมีปัญหาในทางปฎิบัติที่เป็นข้อจำกัดทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่สามารถใช้เรือตามโครงการฯ ในการดำเนินภารกิจกำจัดผักตบชวาได้อย่างยั่งยืน ทั้งในเรื่องความเหมาะสมในการใช้งานในแต่ละพื้นที่ซึ่งมีสภาพปัญหาผักตบชวาแตกต่างกัน ความจำเป็นในการใช้เรือและความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จึงเป็นที่มาของการเข้าตรวจสอบการดำเนินงานโครงการฯ ดังกล่าว ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบตรวจสอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 3 (จังหวัดนครปฐม) จำนวน 6 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดนครปฐม จังหวัดนนทบุรี จังหวัดปทุมธานี จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดสมุทรปราการ และจังหวัดสมุทรสาคร มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน ๑๓๐ แห่ง เรือ จำนวน ๑๗๒ ลำ งบประมาณรวมจำนวน ๑๓.๗๖ ล้านบาท
จากการตรวจสอบผลการดำเนินโครงการฯ พบว่า การดำเนินโครงการฯ ยังมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอที่จะทำให้การแก้ไขปัญหาผักตบชวาเกิดความยั่งยืน พิจารณาได้จากการดำเนินโครงการล่าช้าไม่สัมพันธ์กับช่วงเวลาการแก้ไขปัญหาผักตบชวาตามแผนที่กำหนดไว้ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังไม่มีการนำเรือตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์ในการก้าจัดผักตบชวาในพื้นที่ หรือมีการใช้ประโยชน์น้อย
นอกจากนี้ยังพบข้อสังเกตในเรื่องความแตกต่างของราคาในการจัดซื้อเรือตามโครงการฯ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งมีการจัดซื้อในราคาที่แตกต่างกันมากทั้งที่เป็นครุภัณฑ์ที่มีลักษณะเหมือนกันและจัดซื้อจากผู้จ้าหน่ายรายเดียวกัน
มีรายละเอียดข้อตรวจพบและข้อสังเกต ดังนี้
ข้อตรวจพบ การดำเนินโครงการฯ ยังมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอที่จะทำให้การแก้ไขปัญหาผักตบชวาเกิดความยั่งยืน
โครงการกำจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐ งบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม งบกลาง เงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดหาเรือไฟเบอร์กลาสพร้อมเครื่องยนต์และอุปกรณ์ประจำเรือ ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้โอนเงินงบประมาณดังกล่าวจากส่วนกลางมาตั้งจ่ายสำนักงานคลังจังหวัด ซึ่งกระทรวงการคลังได้อนุมัติให้กันเงินไว้เบิกเหลื่อมปีจนถึงวันทำการสุดท้ายของเดือนมีนาคม ๒๕๖๑ และให้จังหวัดแจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดซื้อเรือท้องแบนไฟเบอร์กลาสพร้อมเครื่องยนต์ตามรายละเอียดคุณลักษณะและวงเงินงบประมาณที่กำหนดในราคาลำละ ๘๐,๐๐๐.- บาท
เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดหาเรือตามโครงการฯ แล้วเสร็จ ให้นำไปใช้ประโยชน์ในการจัดเก็บผักตบชวาและดูแลรักษาแหล่งน้ำในพื้นที่ของตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันมิให้ผักตบชวามีการเติบโตและขยายพันธุ์อีก หรือเพื่อใช้ในการบรรเทาสาธารณภัยต่างๆ ที่จำเป็นตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
จากการตรวจสอบการดำเนินงานโครงการกำจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดที่อยู่ในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคที่ 3 (จังหวัดนครปฐม) จำนวน 6 จังหวัด ซึ่งมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับจัดสรรงบประมาณตามโครงการฯ จำนวน ๑๓๐ แห่ง สำหรับจัดหาเรือ จำนวน ๑๗๒ ลำ งบประมาณรวมจำนวน ๑๓.๗๖ ล้านบาท
พบว่า มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดซื้อเรือตามโครงการฯ จำนวน ๑๑๙ แห่ง เรือจำนวน ๑๕๙ ลำ มีการเบิกจ่ายงบประมาณในการจัดซื้อทั้งสิ้นเป็นเงินจำนวน ๑๒.31 ล้านบาท และมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน ๑๑ แห่ง มีการส่งคืนงบประมาณในการจัดซื้อเรือตามโครงการฯ จำนวน ๑๓ ลำ เป็นเงินจำนวน ๑.๐๔ ล้านบาท
จากการประเมินผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ ที่ต้องการให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการนำเรือตามโครงการฯ ไปใช้ในการดูแลรักษาแหล่งน้ำและจัดเก็บผักตบชวาอย่างต่อเนื่อง ไม่ให้ผักตบชวาขยายพันธุ์อีก พบว่า การดำเนินโครงการฯ ยังมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอที่จะทำให้การแก้ไขปัญหา
ผักตบชวาเกิดความยั่งยืน พิจารณาได้จากการดำเนินการจัดหาเรือตามโครงการฯ เป็นไปอย่างล่าช้าไม่สัมพันธ์กับช่วงเวลาการแก้ไขปัญหาผักตบชวาตามแผนที่ก าหนดไว้ และเมื่อองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับมอบเรือตามโครงการฯ มาแล้ว ส่วนใหญ่ยังไม่มีการน าไปใช้ประโยชน์
ในการก าจัดผักตบชวา หรือมีการใช้ประโยชน์น้อย มีรายละเอียดดังนี้
บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร
โครงการก าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ค
๑. การด าเนินโครงการฯ ล่าช้าไม่สัมพันธ์กับช่วงเวลาการแก้ไขปัญหาผักตบชวา
ตามแผนที่ก าหนดไว้ ตามแผนการก้าจัดผักตบชวาประจ้าปี ๒๕๖๐ ก้าหนดให้องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นด้าเนินการตามมาตรการป้องกัน (เก็บเล็ก) โดยต้องท้าการเก็บผักตบชวาอย่างต่อเนื่อง
ในพื้นที่เป็นภารกิจประจ้าทุกสัปดาห์ เพื่อป้องกันมิให้ผักตบชวามีการเติบโตและขยายพันธุ์อีก
ภายหลังจากการด้าเนินมาตรการก้าจัดผักตบชวา (เก็บใหญ่) ในแต่ละพื้นที่แล้วเสร็จ แต่จากการ
ตรวจสอบพบว่า ระยะเวลาการแจ้งโอนจัดสรรงบประมาณจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและ
ระยะเวลาการด้าเนินการจัดซื้อและรับมอบเรือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง ๑๑๙ แห่ง
อยู่ในระหว่างช่วงเดือนมีนาคม – เดือนตุลาคม ๒๕๖๑ ซึ่งช่วงเวลาดังกล่าวได้ผ่านพ้นการด้าเนินการ
ตามแนวทางปฏิบัติในการด้าเนินการก้าจัดผักตบชวาประจ้าปี ๒๕๖๐ ที่ก้าหนดให้ด้าเนินการก้าจัด
ผักตบขวาในแหล่งน้้าพร้อมกันทั่วประเทศ (Kick off ) ในเดือนพฤษภาคม – มิถุนายน ๒๕๖๐
ท้าให้เรือตามโครงการฯ ที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับ จึงไม่สามารถใช้งานในการด้าเนินมาตรการ
ป้องกัน (เก็บเล็ก) ได้ทันกับช่วงเวลาที่มีการด้าเนินการก้าจัดผักตบชวาพร้อมกันทั่วประเทศ โดยองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ด้าเนินการจัดซื้อและได้รับมอบเรือตามโครงการฯ ในช่วงเดือน
สิงหาคม – กันยายน ๒๕๖๑ ซึ่งอยู่ในช่วงการด้าเนินการตามแผนการแก้ไขปัญหาผักตบชวาประจ้าปี
๒๕๖๑ ที่ไม่ได้มีการก้าหนดรายละเอียดวิธีการด้าเนินการที่ชัดเจนเหมือนกับปีที่ผ่านมา มีเพียงหนังสือ
ของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ที่ มท ๐๘๑๐.๕/ว ๑๐๐๔ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๑ เรื่อง
การแก้ไขปัญหาผักตบชวา ประจ้าปี พ.ศ. ๒๕๖๑ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด แจ้งให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นรายงานผลการด้าเนินการแก้ไขปัญหาและการด้าเนินการจัดเก็บผักตบชวาของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเท่านั้น จึงอาจท้าให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่ได้ให้ความส้าคัญกับการ
ด้าเนินการก้าจัดผักตบชวาในพื้นที่อย่างต่อเนื่อง ปัญหาผักตบชวาจึงไม่ได้รับการแก้ไขอย่างยั่งยืน
๒. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ยังไม่มีการน าเรือไปใช้ประโยชน์ในการก าจัด
ผักตบชวา หรือมีการใช้ประโยชน์น้อย ภายหลังจากที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้าเนินการจัดหา
เรือตามโครงการฯ แล้วเสร็จ จะต้องน้าเรือตามโครงการฯ ไปจัดเก็บผักตบชวาในเขตพื้นที่
ความรับผิดชอบอย่างต่อเนื่องเป็นภารกิจประจ้าทุกสัปดาห์ เพื่อป้องกันมิให้ผักตบชวามีการเติบโต
และขยายพันธุ์อีก จากการตรวจสอบการใช้ประโยชน์จากเรือตามโครงการฯ ในการก้าจัดผักตบชวา
ในพื้นที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน ๑๑๙ แห่ง เรือจ้านวน ๑๕๙ ล้า พบว่า มีองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นเพียงจ้านวน ๒๖ แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ๒๑.๘๕ ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ให้ข้อมูลว่ามีการน้าเรือตามโครงการฯ จ้านวน ๓๓ ล้า หรือคิดเป็นร้อยละ
๒๐.๗๕ ของจ้านวนเรือทั้งหมด ไปใช้ประโยชน์ในการก้าจัดผักตบชวาเป็นประจ้าอย่างต่อเนื่อง องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นที่เหลืออีกจ านวน ๙๓ แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ๗๘.๑๕ ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ให้ข้อมูลว่าเรือตามโครงการฯ จ านวน ๑๒๖ ล า หรือคิดเป็นร้อยละ ๗๙.๒๕
ของจ านวนเรือทั้งหมด ยังไม่มีการน าใปใช้ประโยชน์ในการก าจัดผักตบชวา หรือมีการใช้ประโยชน์น้อย
และจากการตรวจสอบการจัดท้าทะเบียนคุมการใช้เรือขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน
๑๑๙ แห่ง พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ้านวน ๖๙ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๙๘ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ยังไม่มีการจัดท้าทะเบียนคุมการใช้เรือตามโครงการฯ แต่อย่างใด
จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นว่าการใช้ประโยชน์จากเรือตามโครงการฯ ของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ยังมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอที่จะท าให้การแก้ไขปัญหาผักตบชวา
เกิดความยั่งยืน ซึ่งเกิดจากปัญหา และอุปสรรคในการใช้งานหลายประการ ทั้งในส่วนของ
บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร
โครงการก าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ง
ความไม่เหมาะสมของเรือในการน้าไปใช้งานในแต่ละพื้นที่ การเลือกใช้วิธีการก้าจัดผักตบชวา
ที่ไม่จ้าเป็นต้องใช้เรือในการด้าเนินการ และการขาดความพร้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ในการน้าเรือไปใช้งาน โดยมีรายละเอียดดังนี้
๒.๑ ความไม่เหมาะสมของเรือตามโครงการฯ ในการน าไปใช้ก าจัดผักตบชวาในพื้นที่
ในการด้าเนินโครงการก้าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้มีการก้าหนด
รายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของเรือไฟเบอร์กลาสขนาด ๑๗ ฟุต โดยมีความยาวไม่น้อยกว่า
๕.๓๐ เมตร กว้างไม่น้อยกว่า ๑.๘๐ เมตร พร้อมเครื่องยนต์แก๊สโซลีนขนาดไม่น้อยกว่า ๑๓ แรงม้า
แบบหางยาวพร้อมอุปกรณ์ประกอบ จากการตรวจสอบพบว่า เรือตามโครงการฯ ไม่เหมาะสมกับ
การน าไปใช้ก าจัดผักตบชวาในพื้นที่ มีรายละเอียดดังนี้
๑) แหล่งน้ าในพื้นที่มีขนาดเล็กไม่สามารถน าเรือตามโครงการฯ ลงไปใช้งานได้
โดยพบว่า แหล่งน้้าในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการจัดซื้อเรือตาม
โครงการฯ มีจ้านวน ๑,๐80 แห่ง แบ่งเป็นแหล่งน้้าที่มีขนาดความกว้างต่้ากว่า ๓.๐๐ เมตร
ไม่สามารถน้าเรือลงไปใช้ประโยชน์ในการก้าจัดผักตบชวาได้ จ้านวน 78 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ
7.22 ของแหล่งน้้าทั้งหมด และมีแหล่งน้้าที่มีขนาดความกว้างตั้งแต่ ๓.๐๐ – ๕.๐๐ เมตร จ้านวน
245 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 23.52 ของแหล่งน้้าทั้งหมด ซึ่งสามารถน้าเรือตามโครงการฯ ไปใช้งานได้
แต่อาจจะมีปัญหาใช้งานได้ไม่สะดวก เนื่องจากหางเครื่องยนต์มีลักษณะยาวท้าให้เกิดความล้าบาก
ในการกลับเรือในแหล่งน้้า ประกอบกับแหล่งน้้าบางแห่งมีขนาดไม่เท่ากันตลอดทั้งเส้น บางช่วงมีความแคบ
และตื้นเขิน และมีสิ่งก่อสร้างตั้งขวาง เช่น สะพาน ประตูระบายน้้า เป็นต้น จึงเป็นอุปสรรคต่อการ
น้าเรือตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์ในการก้าจัดผักตบชวาในแหล่งน้้านั้นๆ
๒) แหล่งน้ าในพื้นที่มีจ านวนน้อยและมีปัญหาการแพร่กระจายของผักตบชวา
ไม่รุนแรงจะมีเฉพาะในบางช่วงเวลาเท่านั้น จึงไม่ได้น าเรือตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์
อย่างต่อเนื่อง จากการตรวจสอบพบว่า มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน ๑๗ แห่ง ที่มีแหล่งน้้า
ในพื้นที่รับผิดชอบจ้านวน ๑ - ๓ แห่ง เท่านั้น และมีปัญหาการแพร่กระจายของผักตบชวาไม่รุนแรง
อยู่ในระดับที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถควบคุมได้ เป็นผลท้าให้เรือที่ได้รับตามโครงการฯ
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน ๑๔ แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ๘๒.๓๕ ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นที่มีแหล่งน้้าในพื้นที่รับผิดชอบน้อย ยังไม่มีการน้าเรือตามโครงการไปใช้ประโยชน์ในการ
ก้าจัดผักตบชวา หรือมีการน้าไปใช้ประโยชน์น้อย เพียง ๑ – ๒ ครั้ง เท่านั้น
๓) เรือตามโครงการฯ มีลักษณะเป็นเรือโดยสาร เมื่อน ามาใช้เก็บขนผักตบชวา
ท าให้ใช้งานได้ไม่สะดวกเท่าที่ควร จากลักษณะของเรือตามโครงการฯ ที่มีที่นั่งเป็นโครงสร้างเดียวกับ
เรือส้าหรับผู้โดยสารจ้านวน ๓ แถว ท้าให้เหลือพื้นที่ส้าหรับบรรจุผักตบชวาได้น้อยลง โดยมีเจ้าหน้าที่
ที่เกี่ยวข้องขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งให้ข้อมูลว่า เรือตามโครงการฯ เหมาะส้าหรับใช้
เป็นเรือโดยสารมากกว่าน้ามาใช้ในการปฏิบัติงานก้าจัดผักตบชวา
๒.๒ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งมีวิธีการควบคุมการแพร่กระจายของ
ผักตบชวาโดยไม่มีความจ าเป็นต้องใช้เรือตามโครงการฯ โดยพบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แต่ละแห่งมีวิธีการด้าเนินการก้าจัดผักตบชวาที่หลากหลาย แล้วแต่ความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่
โดยแบ่งเป็นการแก้ไขปัญหากรณีเกิดปัญหาผักตบชวาระดับรุนแรง และกรณีเกิดปัญหาผักตบชวา
บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร
โครงการก าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จ
ระดับไม่รุนแรง หรือเป็นการเฝ้าระวัง ซึ่งส่วนใหญ่ไม่ได้ใช้เรือเป็นอุปกรณ์ในการด้าเนินการ หรือมีเรือ
และเครื่องมือในการก้าจัดผักตบชวาอยู่แล้ว ท้าให้เรือตามโครงการฯ ยังไม่มีการน้าไปใช้ประโยชน์
ในการก้าจัดผักตบชวา หรือมีการใช้ประโยชน์น้อย รายละเอียดดังนี้
- กรณีเกิดปัญหาผักตบชวาระดับรุนแรง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะใช้
วิธีการก้าจัดโดยการจ้างเหมาเอกชนให้มาด้าเนินการขุดลอกคลอง หรือการประสานขอความร่วมมือ
จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมชลประทาน กรมโยธาธิการและผังเมือง หรือองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด ให้น้าเครื่องจักรขนาดใหญ่มาด้าเนินการก้าจัดผักตบชวาในพื้นที่ โดยจากการตรวจสอบ พบว่า
มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน ๗3 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ 61.34 ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ใช้วิธีการก้าจัดผักตบชวาโดยการจ้างเหมาเอกชน หรือขอความร่วมมือจากหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องให้เข้ามาด้าเนินการก้าจัดผักตบชวาในพื้นที่ ในกรณีที่ผักตบชวามีการแพร่กระจาย
อย่างรุนแรง เนื่องจากไม่สามารถน้าเรือตามโครงการฯ ไปด้าเนินการก้าจัดด้วยการใช้แรงงานคนได้ทัน
กับการแพร่กระจายของผักตบชวา ซึ่งเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงจ้าเป็นต้องใช้เครื่องจักรขนาดใหญ่ในการ
ก้าจัดเป็นผลท้าให้เรือตามโครงการฯ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน 60 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ
๘2.๑9 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ใช้วิธีการก้าจัดผักตบชวาโดยการจ้างเหมาเอกชนหรือ
ขอความร่วมมือจากหน่วยงานอื่น ยังไม่มีการน้าเรือตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์ในการก้าจัด
ผักตบชวา หรือมีการใช้ประโยชน์น้อย
- กรณีเกิดปัญหาผักตบชวาระดับไม่รุนแรง หรือเป็นการเฝ้าระวัง องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นจะใช้วิธีการว่าจ้างให้ประชาชน/ชุมชน ที่อาศัยอยู่บริเวณใกล้แหล่งน้้าท้าหน้าที่
ดูแลก้าจัดวัชพืชและผักตบชวาในแหล่งน้้า การใช้ยาก้าจัดวัชพืชฉีดพ่นผักตบชวา การใช้แรงงานและ
เครื่องมือที่เป็นเครื่องจักร หรือเรือที่มีอยู่แล้วขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการด้าเนินการก้าจัด
ผักตบชวา หรือการจัดท้าโครงการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการก้าจัดผักตบชวา เป็นต้น โดยจากการ
ส้ารวจเครื่องมือที่เป็นเครื่องจักร หรือเรือที่มีอยู่ก่อนจะได้รับเรือตามโครงการฯ ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นจ้านวน ๑๑๙ แห่ง พบว่า มีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน ๖0 แห่ง หรือคิดเป็น
ร้อยละ ๕0.42 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด มีเรือท้องแบน หรือเครื่องจักรในการก้าจัด
ผักตบชวา ได้แก่ เรือตัดผักตบชวา และรถแบคโฮ ส้าหรับใช้ในการก้าจัดผักตบชวาอยู่ก่อนแล้ว
และสามารถใช้งานในการก้าจัดผักตบชวาได้สะดวกและรวดเร็วกว่าการใช้เรือตามโครงการฯ ท้าให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน ๔๒ แห่ง จากทั้งหมด ๖๐ แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ๗๐.๐๐ ยังไม่มี
การน้าเรือตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์หรือมีการใช้ประโยชน์น้อย
๒.๓ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางแห่งขาดความพร้อมที่จะน าเรือตามโครงการฯ
ไปใช้ในการก าจัดผักตบชวาในพื้นที่ ในการน้าเรือตามโครงการฯ ไปใช้ในการก้าจัดผักตบชวานั้น
เป็นการใช้งานในลักษณะใช้แรงงานคนเป็นหลักในการเก็บขนผักตบชวาขึ้นจากแหล่งน้้า ซึ่งจะมี
ค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าน้้ามันเชื้อเพลิงส้าหรับเครื่องยนต์ ค่าจ้างแรงงาน และอาจมีค่าใช้จ่ายในการ
ขนย้ายเรือกรณีที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มีเครื่องมือในการขนย้าย ซึ่งจากการตรวจสอบพบว่า
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน 54 แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ๔5.78 ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นทั้งหมด ให้ข้อมูลว่ายังขาดความพร้อมที่จะน้าเรือตามโครงการฯไปใช้ในการก้าจัด
ผักตบชวาในพื้นที่ เนื่องจากมีปัญหาบุคลากรหรือแรงงานในการจัดเก็บผักตบชวามีไม่เพียงพอ
และปัญหาค่าใช้จ่ายการขนย้ายเรือไปยังแหล่งน้้าต่างๆ ซึ่งเป็นผลท้าให้เรือตามโครงการฯ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นจ้านวน ๔๖ แห่ง หรือคิดเป็นร้อยละ ๘๕.๑๙ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร
โครงการก าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉ
ที่ขาดความพร้อมทั้งหมด ยังไม่มีการน้าเรือตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์ในการก้าจัดผักตบชวาหรือ
มีการน้าไปใช้ประโยชน์น้อย
จากผลการด าเนินโครงการก าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ที่ยังมีประสิทธิภาพไม่เพียงพอที่จะท าให้การแก้ไขปัญหาผักตบชวาเกิดความยั่งยืน ส่งผลกระทบ
ท าให้การใช้จ่ายงบประมาณในการด าเนินโครงการฯ เกิดความไม่คุ้มค่า คิดเป็นเงินจ้านวน
๙.๗๖ ล้านบาท ที่ใช้ไปในการจัดซื้อเรือตามโครงการฯ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งยังไม่มีการ
น้าไปใช้ประโยชน์ในการก้าจัดผักตบชวาหรือมีการใช้ประโยชน์น้อย นอกจากนี้ปัญหาผักตบชวายังคง
มีอยู่และส่งผลกระทบต่อประชาชนที่ใช้น้ าจากแหล่งน้ า และประชาชนที่อาศัยอยู่ใกล้บริเวณแหล่ง
น้ าที่มีปัญหาผักตบชวา อันเป็นผลมาจากการแพร่กระจายของผักตบชวาอย่างรวดเร็ว จนไปขัดขวางการ
ไหลเวียนของน้้า ท้าให้น้้าเน่าเสีย หรือเกิดความตื้นเขิน และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุง เป็นต้น และยังเป็น
ภาระของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ต้องจัดสรรงบประมาณเพื่อใช้ส าหรับการแก้ไขปัญหาผักตบชวา
อย่างต่อเนื่องและเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการด้าเนินโครงการฯ ยังไม่สามารถหยุดยั้งการแพร่กระจาย
ของผักตบชวาได้ตามวัตุประสงค์ที่ก้าหนดไว้ทั้งนี้มีสาเหตุส าคัญเกิดจาก
๑. การจัดท าโครงการฯ ขาดการส ารวจข้อมูลส าคัญเกี่ยวกับจ านวน ขนาด ของแหล่งน้ า
และสภาพความรุนแรงของปัญหาผักตบชวาในแหล่งน้ าขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยจาก
การตรวจสอบที่มาของโครงการฯ พบว่า ในช่วงเดือนธันวาคม ๒๕๕๙ กรมโยธาธิการและผังเมือง
ได้แจ้งให้ส้านักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด ด้าเนินการส้ารวจความต้องการขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นในการขอรับการสนับสนุนเรือเก็บผักตบชวา เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่างๆ เพื่อเป็นการ
เตรียมความพร้อมในการก้าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนตามมาตรการป้องกัน แต่ไม่มีการสอบถาม
ถึงจ้านวน ขนาด ของแหล่งน้้า หรือสภาพปัญหาผักตบชวาในพื้นที่ว่ามีมากน้อยเพียงใด เพื่อพิจารณา
ถึงความเหมาะสมของเครื่องมือที่จะใช้ในการก้าจัดผักตบชวาในแต่ละพื้นที่ เป็นผลท้าให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับเรือตามโครงการฯ มาแล้ว ไม่สามารถน้าไปใช้ประโยชน์ในการก้าจัด
ผักตบชวาในพื้นที่ได้ตามวัตถุประสงค์ที่ก้าหนดไว้
๒. ลักษณะของแหล่งน้ าในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนใหญ่เป็นแม่น้ า คลองชลประทาน หรือคลอง ที่เชื่อมต่อกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
หลายแห่ง และอยู่ในความรับผิดชอบด าเนินการก าจัดผักตบชวาของหน่วยงานอื่น ท าให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่ไม่ได้น าเรือตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์ในการควบคุมการ
แพร่กระจายของผักตบชวาในแหล่งน้ าดังกล่าว เนื่องจากไม่ได้รับมอบหมายให้ด้าเนินการ
และไม่มีศักยภาพเพียงพอในการก้าจัดผักตบชวาในแหล่งน้้าขนาดใหญ่ ประกอบกับลักษณะการ
แพร่กระจายของผักตบชวาที่สามารถไหลไปตามกระแสน้้าจากแหล่งน้้าในพื้นที่หนึ่งไปยังแหล่งน้้า
ในอีกพื้นที่หนึ่งอย่างไม่มีขอบเขต จึงยากต่อการควบคุมและเฝ้าระวัง ท้าให้การแก้ไขปัญหา
ผักตบชวาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นยังไม่เกิดความยั่งยืนตามวัตถุประสงค์ที่ก้าหนดไว้โดยจาก
การส ารวจแหล่งน้ าในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ านวน
๑๑๙ แห่ง พบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ านวน ๔๔ แห่ง คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๙๗ ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด มีแม่น้ าท่าจีน หรือแม่น้ าเจ้าพระยา อยู่ในพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งน้้าที่อยู่
นอกเหนือความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และมีปัญหาการแพร่กระจายของ
ผักตบชวาจ้านวนมากและรวดเร็ว เกินกว่าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะใช้เรือตามโครงการฯ
กับก าลังแรงงานคนในการก าจัดผักตบชวาได้ทันกับปริมาณผักตบชวาที่มีจ านวนมาก องค์กร
บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร
โครงการก าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ช
ปกครองส่วนท้องถิ่นส่วนใหญ่จึงไม่ได้ด้าเนินการเก็บผักตบชวาในแหล่งน้้าดังกล่าว เพราะไม่ได้อยู่
ในอ้านาจหน้าที่และไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะด้าเนินการก้าจัดผักตบชวาให้หมดไปได้ เมื่อเกิด
ปัญหาผักตบชวาหนาแน่นมากหรือได้รับการร้องเรียนจากประชาชน จะใช้วิธีการประสานขอ
ความร่วมมือจากหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง ซึ่งมักจะเกิดความล่าช้าไม่สามารถด้าเนินการได้ทันที
ท้าให้เกิดการแพร่กระจายของผักตบชวาจากแม่น้้า คู คลอง ที่อยู่นอกเหนือความรับผิดชอบของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างรวดเร็ว และลุกลามไปยังแหล่งน้้าอื่นๆ ในพื้นที่ซึ่งเชื่อมต่อกับ
แม่น้้า คู คลอง ดังกล่าว นอกจากนี้ยังมีข้อจ้ากัดของแหล่งน้้าที่มีความยาวเชื่อมโยงในเขตพื้นที่
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น เมื่อมีการก้าจัดผักตบชวาไม่พร้อมกัน ก็จะท้าให้ผักตบชวา
ในแหล่งน้้าที่อยู่นอกเขตพื้นที่ความรับผิดชอบไหลมาในเขตพื้นที่อีก จึงไม่สามารถควบคุมการ
แพร่กระจายของผักตบชวาได้ตามวัตถุประสงค์ที่ก้าหนดไว้
๓. ขาดการติดตามประเมินผลการน าเรือตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์ในการก าจัด
ผักตบชวาในพื้นที่ โดยกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้มีการแจ้งให้จังหวัดติดตามผลการ
ด้าเนินการก้าจัดผักตบชวาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการแจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รายงานผลการด้าเนินการแก้ไขปัญหาและการด้าเนินการจัดเก็บผักตบชวาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ตั้งแต่เดือนเมษายน ๒๕๖๑ เป็นต้นไป ตามหนังสือกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ที่ มท ๐๘๑๐.๕/ว ๑๐๐๔ ลงวันที่ ๕ เมษายน ๒๕๖๑ เรื่อง การแก้ไขปัญหาผักตบชวา ประจ้าปี พ.ศ.
๒๕๖๑ แต่จากการตรวจสอบพบว่า ส านักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทั้ง ๖ จังหวัด ไม่ได้มีการ
จัดท าสรุปผลการด าเนินการก าจัดผักตบชวาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดในภาพรวม
ในแต่ละเดือนแต่อย่างใด และไม่สามารถตรวจสอบได้ว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบันทึก
ข้อมูลในระบบครบถ้วนหรือไม่ ท้าให้ขาดข้อมูลในการน้าไปประเมินผล วิเคราะห์ เพื่อก้าหนดแนวทาง
ในการแก้ไขปัญหาผักตบชวาให้สอดคล้องตามสภาพปัญหาของแต่ละพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้การด้าเนินโครงการก้าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
มีประสิทธิภาพ เป็นไปอย่างประหยัด เกิดประโยชน์คุ้มค่า และสามารถแก้ไขปัญหาผักตบชวา
ได้อย่างยั่งยืน ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินมีข้อเสนอแนะให้ท้องถิ่นจังหวัดทั้ง ๖ จังหวัด
พิจารณาด าเนินการ ดังนี้
๑. การด าเนินโครงการในลักษณะเดียวกันที่จะด าเนินการในอนาคต ควรมีการส ารวจ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้ละเอียดรอบด้านและครบถ้วน เป็นข้อมูลที่ถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริงและชัดเจน
เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกวิธีการ หรือแนวทางในการแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับสภาพปัญหา
ที่แท้จริงมากที่สุด มิใช่ก้าหนดวิธีการในการแก้ไขปัญหาแบบเดียวกันทั้งหมด ทั้งที่สภาพปัญหา
ในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน ไม่สามารถจัดการแก้ปัญหาด้วยวิธีการเดียวกันได้
๒. ด าเนินการส ารวจความต้องการใช้งานเรือตามโครงการฯ ขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นทั้งหมดอีกครั้ง เพื่อยืนยันการใช้ประโยชน์จากเรือตามโครงการฯ ไม่ว่าจะน้าไปใช้
ในภารกิจใดก็ตาม ทั้งที่เกี่ยวข้องกับการก้าจัดผักตบชวาหรือภารกิจอื่นๆ ที่เห็นว่าเหมาะสมที่จะน้าเรือ
ตามโครงการฯ ไปใช้ประโยชน์ได้ โดยจัดท้าเป็นแผนการใช้งานให้ชัดเจน หากองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นใดเห็นว่าไม่มีความจ้าเป็นต้องใช้เรือตามโครงการฯ ให้ส้านักงานท้องถิ่นจังหวัดพิจารณา
แนวทางในการส่งมอบเรือดังกล่าวให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นที่มีความจ้าเป็น หรือต้องการ
บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร
โครงการก าจัดผักตบชวาอย่างยั่งยืนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซ
ใช้เรือในการปฏิบัติภารกิจในพื้นที่ ทั้งนี้ต้องด้าเนินการให้เป็นไปตามระเบียบและหนังสือสั่งการ
ที่เกี่ยวข้อง
๓. แจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด าเนินการก าจัดผักตบชวาในแหล่งน้ าที่รับผิดชอบ
อย่างต่อเนื่อง ตามวิธีการที่เห็นว่าเหมาะสมและสามารถควบคุมการแพร่กระจายของผักตบชวา
ในพื้นที่ได้ผลส้าเร็จเป็นที่ประจักษ์ โดยน้าเรือตามโครงการฯ ไปประยุกต์ใช้ร่วมกับวิธีการดังกล่าว
รวมทั้งส่งเสริมให้มีการน้าสารอินทรีย์ที่เกิดจากการศึกษาวิจัยของสถาบันการศึกษาต่างๆ เช่น เชื้อรา
Myrothecium roridum (ไมโรดิเซียม โรริดัม) มาใช้ในการก้าจัดผักตบชวาในพื้นที่ทดแทนการใช้
ยาก้าจัดวัชพืชที่มีส่วนประกอบของสารเคมีอันตราย เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมหรือชีวิต
ประชาชน
๔. แจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีปัญหาผักตบชวาในแหล่งน้ าในพื้นที่ ซึ่งเป็น
แม่น้ า หรือคลองที่อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานอื่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มี
ศักยภาพที่จะด้าเนินการก้าจัดผักตบชวาในแหล่งน้้าดังกล่าวได้ให้รายงานสภาพปัญหาผักตบชวา
ในแหล่งน้ านั้นๆ ให้ส านักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดทราบ เพื่อน้าเสนอต่อผู้ว่าราชการ
จังหวัดในฐานะประธานคณะท้างานแก้ไขปัญหาผักตบชวาระดับจังหวัด ส้าหรับใช้เป็นข้อมูล
ประกอบการพิจารณาหาแนวทางการแก้ไขปัญหาผักตบชวาในภาพรวมของจังหวัดให้เกิด
ประสิทธิภาพต่อไป พร้อมทั้งเสนอให้มีการก้าหนดระยะเวลาในการด้าเนินการแก้ไขปัญหาผักตบชวา
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส้าหรับแหล่งน้้าที่ไหลผ่านเชื่อมต่อกันในพื้นที่องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นหลายแห่งโดยมีการบูรณาการแผนการก้าจัดผักตบชวาในระยะเวลาใกล้เคียงกัน เพื่อให้
สามารถก้าจัดผักตบชวาให้หมดไปจากแหล่งน้้าดังกล่าว และเป็นการลดปัญหาการแพร่กระจายของ
ผักตบชวาจากพื้นที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ไม่ได้ด้าเนินการ ไปยังแหล่งน้้าในพื้นที่ขององค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น
๕. แจ้งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดท าทะเบียนคุมการใช้เรือตามโครงการฯ
ประกอบด้วยข้อมูลส้าคัญ คือ วันเวลาที่น้าไปใช้งาน สถานที่ที่น้าไปใช้งาน ผู้รับผิดชอบ และมีการ
บันทึกข้อมูลการใช้งานในทะเบียนคุมให้ครบถ้วนตรงตามข้อเท็จจริง เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการ
ติดตามประเมินผลการด้าเนินโครงการฯ ในโอกาสต่อไป และมีการรวบรวมข้อมูลรายงานผลการ
ด้าเนินการแก้ไขปัญหาและการด้าเนินการจัดเก็บผักตบชวาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างเป็น
ระบบให้ครบถ้วนทุกเดือน รวมทั้งน้าข้อมูลดังกล่าวมาพิจารณาว่าเป็นข้อมูลที่สอดคล้องกับการ
ด้าเนินการในพื้นที่จริงหรือไม่ และมีการศึกษา วิเคราะห์ เพื่อน้าเสนอแนวทางการสร้างเครื่องมือ
ส้าหรับจัดเก็บข้อมูลและบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับการด้าเนินงานก้าจัดผักตบชวาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ให้เป็นข้อมูลที่ถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริง สามารถน้าไปใช้ประโยชน์ในการพิจารณาจัดท้า
แผนการก้าจัดผักตบชวาในพื้นที่ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป