ทรัพย์สิน 67.56 ล้านบาท 'พิมพ์วิมล วงษ์สุวรรณ' น้องสะใภ้ 'บิ๊กป้อม' นั่งบอร์ดเอ็นที เงินฝาก 24 ล้านบาท เงินลงทุน 15.71 ล้านบาท สะสมนาฬิกาหรู-กระเป๋าแบรนด์เนม 10 ใบ
ทรัพย์สิน 161.92 ล้านบาท 'ชูรัฐ เลาหพงศ์ชนะ'นั่งบอร์ด กฟน. - ภรรยา 'พิชชารัตน์' ส.ส.พปชร. ถือเงินสด 1.9 ล้านบาท เงินลงทุน 92.25 ล้านบาท นาฬิกา 36 เรือน พระเครื่อง 13 รายการ กระเป๋าแบรนด์เนม 3 รายการ
ทรัพย์สิน 285.91 ล้านบาท 'รัชดาภรณ์ ราชเทวินทร์' นั่งกรรมการ 3 บอร์ดออมสิน-สะพานปลา-สวนสัตว์ ลงทุนหุ้น 93 รายการ 167.21 ล้านบาท เงินฝาก 18 บัญชี 29.49 ล้านบาท ที่ดิน 8 แปลง 53.54 ล้านบาท รายได้ต่อปี 3.85 ล้านบาทจากเบี้ยประชุม-เงินปันผลค่าหุ้น
ทรัพย์สิน 87.16 ล้านบาท 'นพ.เกียรติภูมิ วงศ์รจิต' ปลัด สธ. เงินฝาก 21 บัญชี 23.75 ล้านบาท เงินลงทุน 17.90 ล้านบานท ที่ดิน 11 แปลง 20.50 ล้านบาท บ้าน ห้องชุด ตึกแถว 7 หลัง 12.96 ล้านบาท รายได้ 2.72 ล้านบาท จากเงินเดือน-เบี้ยประชุม
ทรัพย์สิน 12 ล้านบาท อธิการ มรภ.ลำปาง 'กิตติศักดิ์ สมุทธารักษ์' ที่ดิน 72 ไร่ใน จ.พิจิตร-แพร่ 4.16 ล้านบาท รายได้ต่อปี 1.89 ล้านบาทจากเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง
เมื่อวันที่ 29 มี.ค.2565 สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เปิดเผยบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินและเอกสารประกอบของผู้ดำรงตำแหน่งระดับสูง รายของ นายดิศกุล เกษมสวัสดิ์ เลขาธิการคุรุสภา กรณี พ้นจากการเป็นเจ้าหน้าที่รัฐ รวมทรัพย์สินทั้งสิ้น 18,843,046.60 บาท หนี้สิน 932,250.02 บาท
ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พิพากษายกคำร้อง ป.ป.ช. คดี‘พุฑฒิพงษ์ ฤาชัย’ นายกเทศมนตรี ต.บ้านโฮ่ง จ.ลําพูน ยื่นบัญชีทรัพย์สินเท็จ กรณีพ้นตำแหน่ง26 ส.ค. 2558ไม่แจ้งเงินลงทุน 3 รายการ 4.7 ล้าน คดีขาดอายุความ ไม่ได้ตัวมาศาลภายใน 5 ปี ลงโทษทางอาญา-เพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ทำไม่ได้
ทรัพย์สิน 360.06 ล้านบาท 'ณัฐฏ์จารี' เลขาฯ ครม. - สามี 'พชร อนันตศิลป์' 1 เดือน สมบัติเพิ่ม 1.48 ล้านบาท เงินฝาก 27.79 ล้านบาท ที่ดิน 220.36 ล้านบาท บ้าน-ห้องชุด 49.30 ล้านบาท
ทรัพย์สิน 18.84 ล้านบาท อดีตเลขาฯคุรุสภา 'ดิศกุล เกษมสวัสดิ์' ที่ดิน 4 แปลง เนื้อที่รวม 12 ไร่ 5.66 ล้านบาท ครอบครองสมเด็จวัดระฆัง 1 องค์ 3 ล้านบาท
ถ้าคำตัดสินของ ป.ป.ช.ชุดใหญ่ต่อกรณี พล.อ.ประวิตรซึ่งเป็นบุคคลที่สามารถให้คุณให้โทษแก่ผู้อื่นได้ยืมนาฬิกาหรูจากเพื่อนนักธุรกิจนั้นไม่ถือว่าเป็นการรับประโยชน์แต่อย่างใด คำตัดสินของ ป.ป.ช. ดังกล่าวก็อาจเป็นเหมือนการสนับสนุนการรับสินบนทางอ้อมได้ และอาจจะส่งผลทำลายระบบตรวจสอบอย่างใหญ่หลวงด้วยเช่นกัน