สัมภาษณ์ - ปาฐกถา
-
1 ศตวรรษการศึกษาไทย ก้าวไกลหรือย่ำอยู่กับที่...?
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 17 เมษายน 2554 เวลา 10:49 น.เขียนโดยณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์รากฐานทางการศึกษา เมื่อ 100 ปีก่อน ที่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงวางไว้ให้กับชาติบ้านเมือง ตามพื้นฐานชีวิต ความเป็นอยู่ ความคิด ความเชื่อของประชาชนในสมัยนั้น วันนี้ เมื่อประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมสมัยใหม่ ได้เกิดผลงอกงามอย่างไรบ้าง “ศูนย์ข้อมูลข่าวสารปฏิรูปประเทศไทย” จะพาไปเปิดมุมมอง ผ่านทัศนะของนักการศึกษา ที่ฉายภาพให้เราได้เห็นไว้ในงานปาฐกถา ‘เสาหลักของแผ่นดิน’ ชุด ‘หนึ่งศตวรรษสองศึ ...
-
ทำอย่างไร...? คนไทยถึงจะรักการอ่าน
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 09 เมษายน 2554 เวลา 17:17 น.เขียนโดยณัฏฐพัชร์ ทัศนรุ่งเรือง5 สิงหาคม 2552 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบกำหนดให้...การอ่านเป็นวาระแห่งชาติ โดยกำหนดให้วันที่ 2 เมษายน ของทุกปีเป็น "วันรักการอ่าน" อีกทั้งกำหนดไว้ด้วยว่า ตั้งแต่ปี 2552-2561 จะเป็นทศวรรษแห่งการอ่าน หวังให้มีการขับเคลื่อน ส่งเสริมการอ่านให้เกิดเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ผ่านมาเกือบ 2 ปี “สวนดุสิตโพล” มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต เปิดผลสำรวจเมื่อช่วงต้นเดือนที่ผ่านมา พบว่า เกินครึ่ง คนไทยไม่รู้ด้วยซ้ำ ประเท ...
-
รับมือภัยพิบัติ...ยกระดับเป็นวาระแห่งชาติ...!!
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 29 มีนาคม 2554 เวลา 22:54 น.เขียนโดยณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์ในช่วงที่ผ่านมา เกิดเหตุแผ่นดินไหวลุกลามไปทั่วทุกมุมโลก ไล่เรียงตั้งแต่ประเทศชิลี จีน นิวซีแลนด์ เรื่อยมา กระทั่งญี่ปุ่น ซึ่งเกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.9 ริกเตอร์ ส่งผลให้เกิดคลื่นสึนามิขนาดมหึมาถาโถม กวาดต้อนทุกสิ่งทุกอย่างพังพินาศ ราบเป็นหน้ากอง ขยับเข้ามาใกล้ประเทศไทย เพื่อนบ้านรั้วติดกันอย่างพม่า เจอแผ่นดินวิปโยคเช่นกัน ซึ่งคร่าชีวิตผู้คนไปอีกจำนวนหนึ่ง ขณะที่ภาคเหนือของไทยก็ได้รับแรงสะเทือนเต็มๆ ถ ...
-
ถึงเวลาปลดแอกโทษอาญา...คดีเช็ค (?)
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 20 มีนาคม 2554 เวลา 21:59 น.เขียนโดยณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์หลังจาก ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวาณิชย์ นำเสนอผลวิจัยเรื่อง “นิติเศรษฐศาสตร์ว่าด้วยกฎหมายเช็ค” ซึ่งระบุถึงปัญหาและต้นทุนอันเกิดจากการกำหนดโทษอาญาคดีไว้ว่า ปี พ.ศ.2551 มีจำนวนคดีเช็คค้างอยู่ในชั้นศาลประมาณ 17,000 คดี โดยแต่ละคดีใช้เวลาพิจารณาราว 21.2 เดือน ทำให้ต้นทุนการพิจารณาคดีเช็คในภาพรวม ทั้งของรัฐและคู่กรณี รวมกันเป็นมูลค่าถึง 909-1,351 ล้านบาทต่อปี
-
เมื่อประเทศไทย จะมี กม.คุมม็อบ
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 10 มีนาคม 2554 เวลา 15:17 น.เขียนโดยณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์ผู้ชุมนุมที่เดินทางเข้ามาปักหลักชุมนุมประท้วง บริเวณลานพระบรมรูปทรงม้า อย่าง “ขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม หรือ ขปส.” ที่เกิดจากการรวมตัวของประชาชน 4 เครือข่าย คือ เครือข่ายปฏิรูปที่ดินแห่งประเทศไทย (คปท.) เครือข่ายสลัม 4 ภาค สมัชชาคนจนกรณีเขื่อนปากมูน และเครือข่ายชุมชนเพื่อการปฏิรูปสังคมและการเมือง (คป สม.) ได้เก็บข้าวเก็บของเดินทางกลับภูมิลำเนาไปเป็นที่เรียบร้อย
-
อีกยกกับการปะทะเพื่อค้นคำตอบ เปิดเขื่อนปากมูล น้ำแห้งจริงหรือ ?
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 06 มีนาคม 2554 เวลา 13:47 น.เขียนโดยณัฏฐพัชร์ ทัศนรุ่งเรืองเสียงเรียกร้องขอคืนอิสรภาพ ให้สายน้ำเพื่อชุมชนกว่า 60 หมู่บ้าน ยังคงดำเนินต่อไป 17 ปี "เขื่อนปากมูล" กับทางเดินที่ผ่านประวัติศาสตร์การต่อสู้อย่างยาวนาน มีทั้งทะเลาะ โต้แย้งกันเรื่อยมา วันนี้หลายคนใจจดใจจ่อ ว่า การเปิด-ปิด เขื่อนปากมูล ได้เดินมาถึงขั้นตอนสุดท้ายของการตัดสินใจ คณะรัฐมนตรีจะตัดสินใจอย่างไรกับ ประเด็นเขื่อนปากมูล เพราะที่ผ่านมา รัฐบาลได้จัดตั้งกลไกเพื่อแก้ไขปัญหาในรูปแบบคณะกรรมการ คณ ...
-
ชำแหละ พรบ. ข้อมูลข่าวสารฯ 13 ปี ดีขึ้นจริงหรือ ?
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 14 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 00:00 น.เขียนโดยเจนศักดิ์ แซ่อึ้งนับจนถึงวันนี้ พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ประกาศใช้มาครบ 13 ปี แล้ว ซึ่งก็ต้องยอมรับว่า กฎหมายฉบับนี้ล้ำหน้ารัฐธรรมนูญปี 2540 และรัฐธรรมนูญ 2550 แต่หลายหน่วยงานยังคงไม่ปฏิบัติตามเจตนารมณ์ อีกทั้ง หลายต่อหลายคนก็ยังมีความเป็นห่วงวิตกกับเนื้อหา ข้อบังคับ นิยามความหมายนานาประการที่อาจส่งผลให้ไม่สามารถใช้ได้จริง บ้างก็ติติง ยังไม่มีความสมบูรณ์ บ้างก็วิจารณ์ว่า ยังตกอยู่ในห้วงอำนาจข ...
-
‘ปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร’ คนจนได้ประโยชน์หรือไม่
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554 เวลา 00:00 น.เขียนโดยสาธินีย์ วิสุทธาธรรม-ณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์คนในสังคมเริ่มยอมรับกันแล้วว่า ความเหลื่อมล้ำเป็นผลพวงของความไม่เป็นธรรมในหลายๆ ด้านสอดประสานมารวมกัน ทั้งด้านรายได้ และในด้านการจัดสรรทรัพยากร พูดเฉพาะทรัพยากร “ที่ดิน” ที่ถือเป็นฐานชีวิตและปัจจัยการผลิตสำคัญสำหรับทุกคนนั้น แค่เพียงเรื่องเดียว ก็นับได้ว่า มีการถือครองอย่างเหลื่อมล้ำมากที่สุด ด้วยเพราะ “ที่ดิน” ส่วนใหญ่ ตกอยู่ในมือของคนเพียงส่วนน้อย เปิดดูได้จากข้อมูลของศูนย์อำนวยการต่อสู้เอาชนะค ...
-
“วิกฤตชาติ ประชาธิปไตย สังคมไทยและทางออก”
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 21 มกราคม 2554 เวลา 20:00 น.เขียนโดยเจนศักดิ์ แซ่อึ้ง-ณัฐนันท์ อิทธิยาภรณ์ประเทศไทยทุกวันนี้ถูกใช้เป็นเวทีประลองกำลัง ระหว่างผู้ถืออำนาจ กับผู้แย่งชิง ยิ่งนานนับวันกลายเป็นปมขัดแย้งที่เหนียวแน่น สร้างความเดือนร้อน และร้าวฉานไปทุกหย่อมหญ้า สะสมกลายเป็นวิกฤตชาติที่ยืดเยื้อยาวนาน ประกอบกับ 'ศึกนอก' ที่ถาโถม ยิ่งตอกลิ่มให้สังคมไทยระส่ำระส่าย เมื่อช่วงต้นสัปดาห์ที่ผ่านมา หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ จัดเวทีเล็กๆ กลางเมือง เชิญนักคิด อย่างพระไพศาล วิสาโล เจ้าอาวาสวัดป่าสุคะ ...
-
ทำนาย "รัฐประหาร" ในสายตานิสิตรัฐศาสตร์
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 08 มกราคม 2554 เวลา 12:01 น.เขียนโดยสาธินีย์ วิสุทธาธรรมโหราศาสตร์ที่เกี่ยวพันกับการเมือง เป็นเรื่องคู่กับสังคมไทยมาเนิ่นนาน โดยเฉพาะช่วงปีใหม่ เราจะเห็นสื่อเกาะติดสัมภาษณ์ นักโหราศาสตร์ ซินแส หมอดูเจ้าสำนักต่างๆ ออกโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ จนกลายเป็นประเพณี บ้างก็ขอให้ฟันธงดวงเมือง ดวงผู้นำประเทศ บ้างก็พยากรณ์สถานการณ์บ้านเมืองตลอดทั้งปีนี้ จนเกิดคำประชดประชัน “นักรัฐศาสตร์ที่ว่าแน่ ก็ยังแพ้โหรการเมือง” ในงานรัฐศาสตร์แฟร์ครั้ง 7 ที่คณะรัฐศาสตร์ จุ ...