- Home
- Thaireform
- สัมภาษณ์ - ปาฐกถา
สัมภาษณ์ - ปาฐกถา
-
‘ไทยพีบีเอส’ สื่อสาธารณะยุค 4.0 แตกต่างบนความยั่งยืน
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 15 มกราคม 2561 เวลา 17:20 น.เขียนโดยวิษณุ แคล้วกระโทก“ปี 2561 ไทยพีบีเอสประกาศจุดยืนชัดเจนเป็นสื่อที่ขับเคลื่อนการเรียนรู้ไปสู่การเปลี่ยนแปลง และจะมุ่งเป้าไปอีก 2-3 ปีข้างหน้า ว่าจะเป็นสื่อที่มีพื้นที่เพื่อการเรียนรู้สำหรับทุกคน โดยเรียกยุทธศาสตร์นี้ว่า ความแตกต่างบนความยั่งยืน”
-
เลขาฯ กกอ.ชี้อุดมศึกษาไทยต้องผลิตคนมีคุณภาพสนองตลาด ผ่านหลักสูตรยืดหยุ่น รู้หลายศาสตร์
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 14 มกราคม 2561 เวลา 18:18 น.เขียนโดยthaireformเลขาฯ กกอ.ชี้ทิศทางของอุดมศึกษาไทยในอนาคตแก่นักวิจัย สกว. ต้องผลิตกำลังคนที่มีคุณภาพสนองความต้องการของตลาด ปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 เน้นความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมและภาคประชารัฐมากขึ้น และสร้างความเป็นเลิศเฉพาะตัวเพื่อเป็นพื้นฐานการเติบโตระยะยาวอย่างยั่งยืน
-
“บัณฑูร ล่ำซำ” กับภารกิจใช้โจทย์ป่าน่าน ทดลอง “ปฏิรูป” บริหารราชการฯ เชิงพื้นที่
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 13 มกราคม 2561 เวลา 08:50 น.เขียนโดยThaireform“ทำเกษตรชั้นต่ำอยู่ไม่ได้ โลกนี้มีอะไรมากกว่านี้ อย่าคิดอับจน อย่าคิดเพิ่มแค่ 5-10% แต่ให้คิดเพิ่มเท่าตัว เพราะคณิตศาสตร์ชีวิตบีบไว้อย่างนั้น พื้นที่แค่นี้ ถ้าสร้างรายได้ต่อไร่ต่อหัวไม่ได้ อย่าหวังจะชนะในชีวิตนี้ อย่าบอกว่าทำไม่ได้ เพราะมีหินกว่านี้ทำได้มาแล้ว แต่ขั้นต้นต้องตกลงกันก่อน”
-
กฎหมายไทยยังไม่ทันโลก ผอ.TIJ แนะเปิดทุกฝ่ายมีส่วนร่วมพัฒนา
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 11 มกราคม 2561 เวลา 16:33 น.เขียนโดยisranewsผอ. สถาบันยุติธรรมไทย ยอมรับกฎหมายไทยยังไม่ทันสมัย แต่ไม่ใช่แค่บ้านเราที่เผชิญปัญหานี้ ย้ำกฎหมายไม่ใช่ความยุติธรรม เป็นเพียงเครืองมือ ควรเปิดโอกาสให้ทุกคนร่วม ลบความคิดเก่าแบบตั้งอนุกรรมการ เชื่อแก้ปัญหาไม่ได้
-
สร้างนักกฎหมายอย่างไรให้เข้าใจสภาพเศรษฐกิจ สังคม สมัยใหม่ ?
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 09 มกราคม 2561 เวลา 16:56 น.เขียนโดยisranewsปรับหลักสูตรนิติศาสตร์ สร้างนักกฎหมายที่เข้าใจสภาพเศรษฐกิจ สังคม และเข้าใจโลก อดีตคณบดีนิติศาสตร์ มธ. ชี้ปัญหาระบบการเรียนการสอนต้องเปลี่ยน วัดผลด้วยการจำไปสอบอย่างเดียวไม่พอต้องเน้นการลงมือ สังเกตการใช้งานกฎหมายจริงๆ
-
โมเดลรพ.จะนะ เปลี่ยนแดดเป็นไฟฟ้า ลดการพึ่งพาพลังงานได้ปีละแสนบาท
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 04 มกราคม 2561 เวลา 08:13 น.เขียนโดยisranews“การติดตั้งโซลาร์ ต้องไม่มองเป็นค่าใช้จ่าย ต้องมองว่าเป็นการลงทุน ได้ประโยชน์สองเด้ง เด้งแรกเราจ่ายค่าไฟน้อยลง เด้งที่สองช่วยลดโลกร้อน ลดการพึ่งพาไฟฟ้าจากฟอสซิล หันมาใช้พลังงานหมุนเวียนแทน”
-
ปี 2561 พลิกกลยุทธ์ ‘กุลสตรี’ อยู่รอดในยุคสื่อสิ่งพิมพ์ขาลง
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 01 มกราคม 2561 เวลา 08:49 น.เขียนโดยThaireform“แม้นิตยสารจะปิดตัวไป แต่คนทำหนังสือยังผลิตคอนเทนต์ลงสื่อต่าง ๆ อยู่ ผมเชื่อว่า คอนเทนต์ไม่มีวันตาย แต่ขึ้นอยู่กับว่า จะออกมาในรูปแบบไหนเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นเล่มหรือออนไลน์ ทุกอย่างทำได้หมด”
-
‘มกุฎ อรฤดี’ สะท้อนวิกฤติสื่อสิ่งพิมพ์ในวันที่นิตยสารชาวบ้านตาย
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 31 ธันวาคม 2560 เวลา 13:07 น.เขียนโดยthaireform“รัฐบาลไทยไม่เคยเข้าใจว่า การที่เราจะสื่อสารกับชาวบ้านได้ ต้องใช้สื่อชาวบ้าน ไม่ใช่สื่อสมัยใหม่ คุณมุ่งพัฒนาระบบออนไลน์ แต่ชาวบ้านไม่มีเครื่องมือในรองรับ ถามว่า โทรศัพท์ต้องใช้ระดับไหนจึงจะรองรับไวไฟได้ เเม้ในที่สุด มีการสร้างไวไฟขึ้นมา แต่แหล่งข้อมูลที่อยู่ในระบบออนไลน์มีความแม่นยำ ถูกต้อง มากน้อยเพียงใด เพราะมีแต่โฆษณาขายสินค้าในรูปแบบบทความ ทำให้มีชาวบ้านจำนวนไม่น้อยหลงเชื่อตกเป็นเหยื่อได้รับค ...
-
จากคำค้นแห่งปี Feminism สตรีนิยม ถึง Gender identity อัตลักษณ์ทางเพศ
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 31 ธันวาคม 2560 เวลา 08:38 น.เขียนโดยthaireformแม้บ้านเรามีความขัดแย้งทางความคิดเรื่องประชาธิปไตยเหลือง-แดง ทำให้ประเทศมีความแตกแยก ขณะที่สหรัฐฯ ตอนนี้มีความแตกแยกระหว่างคนขวาจัด ขบวนการสิทธิมนุษยชน และคนทำงานสิทธิสตรีด้วย ตั้งแต่ทรัมป์ขึ้นมาบริหารประเทศ
-
ส่งท้ายปีคุยกับรศ.ดร.พนา ทองมีอาคม มองธุรกิจสื่อ คืออุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 30 ธันวาคม 2560 เวลา 08:17 น.เขียนโดยthaireformหนังสือพิมพ์ใหญ่ๆยังอยู่กันได้ แต่อาจฝืดเคืองกว่าเมื่อก่อน ส่วนหนังสือพิมพ์ลำดับท้ายๆ อาจจะเจ็บตัวก่อนเราจะเห็นว่า นิตยสารดิฉัน คู่สร้างคู่สม ขวัญเรือน นี่คือตัวท็อป ๆ ทั้งนั้น แสดงว่า เกิดความเสียหายมาถึงข้างบนแล้ว วันนี้เทคโนโลยีที่มันไปเร็ว ซึ่งมีฐานมากจากทั่วโลก ทางกลับกันการปรับตัวขององค์กรธุรกิจจะช้า คนที่ประสบความสำเร็จอยู่แล้วจะติดนิสัยทำอย่างเดิม ฉะนั้นก็จะติดกับสูตรความสำเร็จแบบเดิมปรับ ...