สัมภาษณ์พิเศษ ศูนย์ข่าวภาคใต้
-
เสียงดังแต่ฟังไม่ชัด..."ธงทอง"แจงมติเยียวยา กับ5คำถามค้างคาที่ยังพลิ้ว
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 13 มิถุนายน 2555 เวลา 16:49 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรนายธงทอง จันทรางศุ ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี เปิดแถลงข่าวและให้สัมภาษณ์สื่อเมื่อวันอังคารที่ 12 มิ.ย.2555 เพื่ออธิบายมติที่ประชุมคณะกรรมการเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบสืบเนื่องจากความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ครั้งที่ 5/2555 วันอาทิตย์ที่ 10 มิ.ย.ที่ผ่านมา ซึ่งได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์การจ่ายเงินช่วยเหลือเยียวยากรณีประชาชนทั่วไปที่เป็นเหยื่อเหตุร้ายรายวัน และกำหนดตัวเลขเงินเยียวยาสำหรับเหยื่อความรุนแรงชุดแรก ...
-
ความจริงเรื่องเยียวยากับ"ขา"ที่ขาดหาย...ความจริงจากใจตำรวจชั้นผู้น้อย
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 05 มิถุนายน 2555 เวลา 12:01 น.เขียนโดยวรานนท์ ปัจจัยโค"บึ้ม" เสียงระเบิดดังก้องปลุกความเงียบสงัดบริเวณศาลาที่พักริมทางให้กลายเป็นความโกลาหล เสียงตะโกนโหวกเหวกและเสียงร้องโอดโอยด้วยความเจ็บปวดดังแทรกขึ้นท่ามกลางความชุลมุนวุ่นวาย มีตำรวจโดนสะเก็ดระเบิดหลายนาย และหนึ่งในนั้นคือ ส.ต.ท.วุฒินันท์ จันทร์อ่อน จากหน่วยปฏิบัติการพิเศษ (นปพ.) สภ.โกตาบารู อ.รามัน จ.ยะลา
-
เสียงจาก 2 สีที่ "จะนะ" เราไม่ใช่เครื่องมือการเมือง
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 20 พฤษภาคม 2555 เวลา 01:36 น.เขียนโดยนาซือเราะ เจะฮะ, อับดุลเลาะ หวังหนิวันนี้หากใครเอ่ยถึง "บ้านแค" ต.แค อ.จะนะ จ.สงขลา ย่อมต้องนึกถึงหมู่บ้านเสื้อแดงที่ นางธิดา ถาวรเศรษฐ์ ประธานแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช.) เพิ่งเดินทางไปเปิดสดๆ ร้อนๆ เมื่อวันที่ 14 พ.ค. และในคืนถัดมาศาลาไม้ทางเข้าหมู่บ้านก็ถูกมือมืดลอบวางเพลิง กลายเป็นข่าวครึกโครมไปทั่วประเทศ
-
นักวิชาการชี้ 2 ปัจจัย"โอไอซี"ส่อเพิ่มบทบาทในบริบทไฟใต้
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 08 พฤษภาคม 2555 เวลา 11:21 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรนักวิชาการด้านความมั่นคงแนะรัฐจับตา "โอไอซี" อาจเพิ่มบทบาทเกี่ยวกับปัญหาชายแดนภาคใต้ของไทยจาก 2 ปัจจัย คือแรงกดดันในโอไอซีเอง และพลวัตของกลุ่มก่อความไม่สงบที่แบ่งทีมยกระดับการทำงานกับองค์กรระหว่างประเทศมากขึ้น เตือนอย่าปิดกั้น แต่ให้ทำงานร่วมกันอย่างโปร่งใส ห่วงรัฐใส่ใจไฟใต้น้อยเกินไป
-
8 ปีกรือเซะ (1) ชีวิตของอาตีกะฮ์..."วันที่เสียสามี ฉันท้อง 9 เดือน"
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 27 เมษายน 2555 เวลา 12:04 น.เขียนโดยนาซือเราะ เจะฮะ, อับดุลเลาะ หวังหนิเหตุการณ์ความรุนแรงเมื่อวันที่ 28 เมษายน 2547 หรือที่เรียกกันติดปากว่า "เหตุการณ์กรือเซะ" นั้น เวียนมาบรรจบครบ 8 ปีเต็มแล้ว และปีนี้นับเป็นปีที่สื่อมวลชนและสังคมไทยให้ความสนใจกับเหตุการณ์ดังกล่าวมากที่สุด หลังจากห่างหายไปจากการรับรู้ในช่วง 2-3 ปีหลัง
-
พ.อ.นิติ ติณสูลานนท์... "เหลนป๋า"กับภารกิจสางปมขัดแย้ง 2 ศาสนาที่ปะนาเระ
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 19 เมษายน 2555 เวลา 09:13 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราตลอดเทศกาลสงกรานต์ที่ชายแดนใต้ แม้จะไม่มีเหตุรุนแรงขนาดใหญ่เหมือน "คาร์บอมบ์" ที่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา และ อ.เมือง จ.ยะลา เมื่อวันที่ 31 มี.ค.2555 แต่ก็เกิดเหตุการณ์ลอบสังหารหมู่สลับกันไปมาจนเป็นที่น่าจับตา โดยมีเหยื่อเป็นชาวบ้านทั้งไทยพุทธและมุสลิมที่ อ.ปะนาเระ จ.ปัตตานี
-
เลขาฯสมช.แง้มสูตร "ปกครองพิเศษ" เล็งลดพื้นที่ พ.ร.ก.-ใช้กำลังพลประจำถิ่น
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 08 เมษายน 2555 เวลา 13:42 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตร, ไพศาล เสาเกลียวพล.ต.อ.วิเชียร พจน์โพธิ์ศรี เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) เปิดใจให้สัมภาษณ์ถึงสถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ท่ามกลางเสียงวิจารณ์ถึงแนวทางการแก้ไขปัญหา กรอบนโยบายใหม่ และการใช้กฎหมายพิเศษเพื่อหยุดยั้งความรุนแรง
-
ฟังเสียง"คนพื้นที่"คลี่ปมบอมบ์หาดใหญ่-ยะลา กับปริศนา"สลับเลข"วันสถาปนาบีอาร์เอ็น
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 03 เมษายน 2555 เวลา 08:35 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราข่าวสารและความเคลื่อนไหวหลังเหตุรุนแรงครั้งใหญ่ที่ชายแดนใต้กำลังดำเนินไปในวงจรเดิมๆ คือผู้หลักผู้ใหญ่ในรัฐบาลและฝ่ายข้าราชการประจำลงพื้นที่, รุมประณามกลุ่มผู้ก่อเหตุ, เปิดเผยความคืบหน้าทางคดี และแย้มรายชื่อผู้ต้องหาหรือผู้ต้องสงสัยที่น่าจะเป็นกลุ่มคนร้ายที่ก่อการ
-
อาเซียนบวกและลบ...ผลกระทบจากความไม่พร้อมผ่านมุมมอง อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 23 มีนาคม 2555 เวลา 09:40 น.เขียนโดยแวลีเมาะ ปูซูการก้าวสู่ประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.2558 เป็น "โอกาส" หรือ "วิกฤติ" ยังคงเป็นปัญหาที่หลายฝ่ายขบคิดและตั้งคำถาม...
-
ประยุทธ์– ชัยวัฒน์...กับคำตอบชัดๆ เรื่อง "ปกครองพิเศษ"
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 11 มีนาคม 2555 เวลา 22:12 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราสัปดาห์ที่แล้วมีข่าวที่เรียกเสียงฮือฮา คือการเปิดประเด็นของ "ศูนย์ข่าวอิศรา" และสื่อกระแสหลักบางแขนงว่า รัฐบาลพรรคเพื่อไทยอาจกำลังใช้กลไกของสภา ผลักดันร่างกฎหมายปัตตานีมหานคร เพื่อจัดตั้งองค์กรปกครองท้องถิ่นแบบพิเศษในลักษณะ "เขตปกครองตนเอง" ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ และ 4 อำเภอของ จ.สงขลา