สารคดี
-
"ประชา"คาด2สัปดาห์จ่ายเยียวยาใต้2พันล้าน - ยะลาฮึดจัดงาน"ดินเนอร์ ทอล์ค"ฟื้นเชื่อมั่น
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 24 เมษายน 2555 เวลา 22:04 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราในที่สุดคณะรัฐมนตรี (ครม.) ก็อนุมัติงบประมาณจำนวน 2,080 ล้านบาท เพื่อให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ไฟใต้ โดยแบ่งกลุ่มผู้ที่อยู่ในข่ายได้รับเงินเยียวยาออกเป็น 4 กลุ่มตามที่ "ทีมข่าวอิศรา" ได้นำเสนอไปก่อนหน้านี้
-
ภาษาไทย มลายู อังกฤษและจีน กับประชาคมอาเซียน (จบ)
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 16 เมษายน 2555 เวลา 11:42 น.เขียนโดยกัณหา แสงรายาความเดิมตอนที่แล้ว กัณหา แสงรายา อรรถาธิบายค้างไว้ถึงชนชาติไตหรือไท ที่อยู่นอกประเทศไทย และใช้ "ภาษาไท" ในการสื่อสาร ซึ่งมีอีกนับสิบๆ ล้านคน สารคดีชุด "ภาษาอาเซียน" ในตอนจบจะมาว่ากันต่อ พร้อมกับบทสรุปแนวโน้มความเป็นไปของภาษาและวัฒนธรรมหลังนับหนึ่งประชาคมอาเซียน
-
ส่องนโยบาย สมช. หนุน "พูดคุยสันติภาพ" ดับไฟใต้
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 08 เมษายน 2555 เวลา 14:00 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราผ่านไปแล้ว 1 สัปดาห์สำหรับเหตุ "คาร์บอมบ์" ครั้งรุนแรงในย่านธุรกิจกลางเมืองหาดใหญ่ จ.สงขลา และ อ.เมือง จ.ยะลา แต่แทนที่ฝ่ายการเมืองและหน่วยงานที่รับผิดชอบจะพยายามเร่งควานหาสาเหตุหรือจุดโหว่จุดพลาดว่าอะไรที่ทำให้กลุ่มคนร้ายลอบวางระเบิดจนสร้างความเสียหายระดับนี้ได้ ทว่ากลับต้องมาทะเลาะเบาะแว้งกันเรื่อง...ใครไปเจรจากับแกนนำขบวนการแบ่งแยกดินแดน!?!
-
ภาษาไทย มลายู อังกฤษ และจีน กับประชาคมอาเซียน (3)
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 26 มีนาคม 2555 เวลา 21:13 น.เขียนโดยกัณหา แสงรายาสารคดีชุด "ภาษาอาเซียน" ตอนที่ 3 กัณหา แสงรายา ยังคงเจาะลึกถึงรากเหง้าและวิวัฒนาการของ "ภาษาไทย" หนึ่งในภาษาอาเซียนที่ประเทศเพื่อนบ้านของเราให้ความสนใจกันไม่น้อย อีกทั้งไม่ใช่เป็นภาษาที่พูดและใช้กันเฉพาะ "คนไทย" ในประเทศไทยอย่างที่เข้าใจกันเท่านั้น ข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์อันน่าตื่นตาตื่นใจนี้หลายคนที่เป็น "เจ้าของภาษา" เอง ก็อาจจะยังไม่เคยทราบ
-
ภาษาไทย มลายู อังกฤษ และจีน กับประชาคมอาเซียน (2)
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 16 มีนาคม 2555 เวลา 07:07 น.เขียนโดยกัณหา แสงรายาสารคดีชุด "ภาษาอาเซียน" ตอนที่ 2 นี้ กัณหา แสงรายา เจาะไปที่บทบาทของสาธารณรัฐประชาชนจีนในฐานะ "พี่เบิ้ม" แห่งเอเชีย และย้อนกลับมาพูดถึงความสำคัญของ "ภาษาไทย" ซึ่งมีคนในอาเซียนใช้สื่อสารไม่น้อยเหมือนกัน
-
ภาษาไทย มลายู อังกฤษ และจีน กับประชาคมอาเซียน (1)
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 11 มีนาคม 2555 เวลา 20:32 น.เขียนโดยกัณหา แสงรายา"ประชาคมอาเซียน" อาจเป็นความหวังใหม่เพียงหนึ่งเดียวของนักเรียนหนุ่มสาวในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ทุกวันนี้ เป็นความหวังอันเนื่องมาจากพวกเขาเริ่มเกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายและอยากหนีให้พ้นสภาพปัจจุบันที่เกิดเหตุร้ายขึ้นไม่เว้นแต่ละวัน ทั้งไม่มีทีท่าว่าจะสิ้นสุด ทั้งๆ ที่เหตุประทุรอบใหม่นี้เกิดขึ้นมานานแล้ว คือตั้งแต่ พ.ศ.2547 หรือเมื่อ 8 ปีที่แล้ว
-
คลิปพลทหารอนาจารสาวมุสลิม กับความจริงของสังคมชายแดนใต้
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 07 มีนาคม 2555 เวลา 15:13 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศรา"เรื่องที่เกิดขึ้นทุกเรื่องในภาคใต้กองทัพบกไม่เคยนิ่งนอนใจ และได้นำบทเรียนต่างๆ มาแก้ไข ไม่ว่าจะเกิดคดีความเรื่องใด ผู้บังคับบัญชาต้องรับผิดชอบ ซึ่งผมจะลงโทษผู้บังคับหน่วยว่าไม่ได้กวดขันเข้มงวดกำลังพลเท่าที่ควร ก็อยากจะขอโทษแทนในส่วนของกองทัพบกและ กอ.รมน.ด้วย"
-
จากร้องเรียนซ้อมทรมานถึงคลิปอนาจารสาว และ"ข้อเท็จจริงสีเทา"ที่ชายแดนใต้
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 02 มีนาคม 2555 เวลา 09:27 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราหลายคนเรียกพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ว่า "แดนสนธยา" เพราะมีหลากหลายปัญหาซ้อนทับอยู่บนผลประโยชน์มหาศาล ขณะที่การ "เข้าถึง" ของอำนาจรัฐนั้น แม้จะมีการส่งกำลังจากนอกพื้นที่ลงไปมากกว่า 6 หมื่นนาย แต่ก็ต้องยอมรับว่าในหลายตำบล หลายหมู่บ้าน อำนาจรัฐยังไม่อาจเข้าถึงได้อย่างแท้จริง
-
แรงใจเพียงน้อยนิดกับชีวิตที่เหลืออยู่ของ.. สารวัตรหญิง กูมัณฑนา เบญจมานะ
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 22:03 น.เขียนโดยนาซือเราะ เจะฮะเสียงระเบิดที่ดังก้องบริเวณลานหน้าโรงพัก สภ.เมืองปัตตานี และกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดปัตตานี ตามด้วยเสียงกรีดร้อง ลิ่มเลือด และน้ำตา เมื่อวันที่ 21 เม.ย.2553 นั้น ถึงวันนี้หลายคนคงลืมเลือนไปหมดแล้ว คงเหลือแต่ผู้ที่ประสบเคราะห์กรรมตกเป็นเหยื่อความรุนแรงในวันนั้นที่ยังต้องทนทุกข์และมิอาจลบฝันร้ายไปจากความทรงจำ
-
เมื่อ "ทอทหาร" ล่องใต้...เรื่องเล่าสบายๆ แต่หนักหัวใจกับปัญหาสามจังหวัดชายแดน
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 เวลา 09:46 น.เขียนโดยพันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้างพันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้าง นายทหารนักยุทธศาสตร์ชื่อดัง เจ้าของนามปากกา "ทอทหาร" เขียนบทความในเว็บไซต์ http://tortaharn.net เล่าเรื่องราวเกี่ยวกับการเดินทางลงพื้นที่ชายแดนใต้เที่ยวล่าสุดโดยถอดเครื่องแบบทหาร แต่ไปในฐานะนักวิชาการเพื่อเป็นวิทยากรในเวทีเสวนาที่มีแต่เยาวชนและนักศึกษา ทำให้ได้สัมผัสแนวคิดและวิถีธรรมดาๆ ของคนรุ่นใหม่ในพื้นที่ ซึ่งแตกต่างอย่างสิ้นเชิงจากประสบการณ์ที่เคยรับรู้มา