สารคดี
-
ฟังคนมาเลย์พูดถึงไฟใต้และข้อตกลงสันติภาพ
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 09 มีนาคม 2556 เวลา 21:45 น.เขียนโดยนาซือเราะ เจะฮะ, อับดุลเลาะ หวังหนิหลายคนตั้งข้อสังเกตว่า ฝ่ายที่ดูจะได้ประโยชน์จากการลงนามริเริ่มกระบวนการพูดคุยระหว่างเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) ของไทย กับแกนนำขบวนการบีอาร์เอ็น เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 ก.พ.2556 ดูจะเป็นมาเลเซียในฐานะ "ผู้อำนวยความสะดวกให้เกิดการพูดคุย" มากกว่าไทยในฐานะเจ้าของปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ตัวจริงเสียอีก
-
เปิดเบื้องหลัง "พูดคุยดับไฟใต้" เงื่อนไขแรกลดใช้กฎหมายพิเศษ!
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 01 มีนาคม 2556 เวลา 02:54 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราการลงนามในหนังสือแสดงเจตจำนงเข้าสู่กระบวนการพูดคุยสันติภาพ หรือ General Consensus on Peace Dialogue Process ระหว่างเลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ พล.ท.ภราดร พัฒนถาบุตร กับ นายฮัสซัน ตอยิบ แกนนำขบวนการบีอาร์เอ็นนั้น เป็นเพียงกิจกรรมหน้าฉาก
-
"ดับไฟใต้"ต้องเจรจา...แต่อย่าเร่ง
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 11:55 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราแม้ทุกฝ่ายจะขานรับแนวทางการ "พูดคุยสันติภาพ" หรือแม้กระทั่ง "เจรจา" เพื่อหาแนวทางยุติความรุนแรง ณ ดินแดนปลายด้ามขวาน แต่การให้บทบาทมาเลเซียในบริบทของ "ผู้อำนวยความสะดวกให้เกิดการพูดคุย" ก็ถูกตั้งคำถามจากหลายฝ่ายเช่นกันว่ามีความเหมาะสมหรือไม่เพียงใด โดยเฉพาะจังหวะเวลาที่กำลังจะมีการเลือกตั้งใหญ่ในมาเลย์
-
อาทิตย์ที่แล้วจะเคอร์ฟิว อาทิตย์นี้จะเลิก พ.ร.ก. นโยบายไม่เชื่อมต่อ ต้นตอปัญหาใต้
เขียนวันที่วันพฤหัสบดี ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 11:07 น.เขียนโดยแวลีเมาะ ปูซู, ปกรณ์ พึ่งเนตรปัจจัยสำคัญที่สุดปัจจัยหนึ่งที่ทำให้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ยืดเยื้อ...ซึ่งไม่ใช่แค่ 9 ปี แต่มีมานานนับร้อยปี คือความไม่ชัดเจนต่อเนื่องในนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐไทยเอง
-
รู้จัก "มะรอโซ จันทรวดี" เสียงจากคนพื้นที่กับข้อมูลฝ่ายความมั่นคง
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 13 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 21:27 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศรา"สถานการณ์ใน อ.บาเจาะ จ.นราธิวาส นั้น จริงๆ แล้วช่วงหลายปีมานี้ดีขึ้นมาก แต่ที่ยังมีเหตุการณ์อยู่ก็เพราะ นายมะรอโซ จันทรวดี ยังไม่ถูกจับ บอกตรงๆ ว่าพื้นที่นี้ถ้าไม่มีนายมะรอโซ รับรองว่าสันติสุขแน่"
-
เยือน "ปอเนาะญิฮาด" เรื่องราวที่มากกว่าข่าวอายัดที่ดิน
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 08 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 20:54 น.เขียนโดยทีมข่าวอิศราคำสั่งของ ปปง. หรือสำนักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน ที่ให้อายัดทรัพย์ชั่วคราวโรงเรียนญิฮาดวิทยา แม้จะเป็นข่าวฮือฮาแต่ก็เพียงแค่วันสองวัน ไม่ได้ทำให้โรงเรียนที่ตั้งอยู่กลางดงมะพร้าวใน ต.ตะโละกาโปร์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี แห่งนี้มีชีวิตขึ้นมาแต่อย่างใด
-
มีโรงเลี้ยงแพะเป็นบ้าน...ชีวิตของเหยื่อไฟใต้ "คอมเสาะ อาแว" และลูกๆ 9 คน
เขียนวันที่วันอาทิตย์ ที่ 03 กุมภาพันธ์ 2556 เวลา 10:30 น.เขียนโดยเลขา เกลี้ยงเกลาไม่เชื่อก็ต้องเชื่อว่าโรงเลี้ยงแพะขนาดใหญ่ในสวนยางพาราตรงข้ามกับมัสยิดดารุลตักวา หมู่ 7 ต.ปล่องหอย อ.กะพ้อ จ.ปัตตานี คือบ้านของ คอมเสาะ อาแว มุสลิมมะฮ์วัย 43 ปี กับลูกๆ อีก 9 คน
-
อสังหาฯบูมที่ชายแดนใต้ (2) "ปัตตานี จายา" วิถีชีวิต ศาสนา และอภิมหาโปรเจค
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 29 มกราคม 2556 เวลา 12:27 น.เขียนโดยแวลีเมาะ ปูซู"ปัตตานี จายา เมืองแห่งสันติ เพื่อชีวิตที่ดี" เป็นข้อความประชาสัมพันธ์บนภาพถ่ายแบบบ้านจัดสรรอันสวยงาม มองเผินๆ เหมือนบ้านที่ปลูกขายกันตามชานกรุงเทพฯ หรือหัวเมืองท่องเที่ยวอย่างเชียงใหม่ ภูเก็ต และพัทยา แต่ป้ายประชาสัมพันธ์ที่ว่านี้กลับติดตั้งเรียงรายริมถนนสายนราธิวาส-ปัตตานี...ใครจะคิดว่าโครงการแบบนี้จะผุดขึ้นที่ชายแดนใต้
-
ฟังคนพม่าพูดถึง"โรฮิงญา" และปัญหาชายแดนใต้ยังห่างไกลจากยะไข่
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 21 มกราคม 2556 เวลา 00:36 น.เขียนโดยนาซือเราะ เจะฮะ, ปทิตตา หนูสันทัดข่าวเศร้าที่ชาวโรฮิงญาร่วมพันคนถูกกักตัวอยู่ตามแนวชายแดนไทย-มาเลเซียด้าน อ.สะเดา จ.สงขลา ทำให้เรื่องราวเลวร้ายที่เกิดกับชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข่ ประเทศเมียนมาร์ ถูกบอกเล่าผ่านสื่อทุกแขนงอย่างมากมาย แต่ไม่มีใครเคยถามคนพม่าที่อยู่นอกประเทศว่ามีมุมมองต่อปัญหานี้อย่างไร
-
ใจถึงใจ "มุสลิมใต้" ถึง "โรฮิงญา" จับตา "ยะไข่โมเดล" ซ้ำรอยไทยแลนด์
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 18 มกราคม 2556 เวลา 12:24 น.เขียนโดยสุเมธ ปานเพชร, ปกรณ์ พึ่งเนตรชะตากรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไร้รัฐปรากฏต่อหน้าต่อตาสังคมไทยอีกครั้ง จากกรณีเจ้าหน้าที่ตำรวจและฝ่ายปกครองเข้าช่วยเหลือชาวโรฮิงญาทั้งหญิง ชาย และเด็ก ระหว่างถูกกักตัวอัดแน่นอยู่ในโกดังย่านปาดังเบซาร์และด่านนอก อ.สะเดา จ.สงขลา ตั้งแต่เปิดศักราช 2556 มาได้เพียง 10 วัน นับรวมถึงวันนี้ก็ราวๆ 900 คนแล้ว