คุยกับบรรณาธิการ
-
โจทย์ยากไฟใต้รอรับ รมต.ใหม่
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 03 กรกฎาคม 2556 เวลา 21:36 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรชัดเจนแล้วว่ารัฐมนตรีชุดใหม่ที่จะมีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรงกับปัญหาภาคใต้มีอยู่ 3 คน คือ คุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกฯ ควบ รมว.กลาโหม พล.ต.อ.ประชา พรหมนอก รองนายกฯ และ พล.อ.ยุทธศักดิ์ ศศิประภา รมช.กลาโหม โดยที่ พล.ต.อ.ประชา ได้รับมอบหมายให้คุมงานด้านความมั่นคงในภาพรวม
-
ไม่จำเป็นต้องปฏิเสธบีอาร์เอ็นทุกข้อ
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 26 มิถุนายน 2556 เวลา 22:17 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรผมคิดว่ารัฐบาลออกตัวแรงไปนิดกับเงื่อนไขใหม่ 7-8 ข้อ และข้อเรียกร้องเดิม 5 ข้อของบีอาร์เอ็นกลุ่มนายฮัสซัน ตอยิบ ถึงขนาดให้รัฐมนตรีกลาโหมออกมาแถลงอย่างเป็นเรื่องเป็นราวและแข็งกร้าวว่า "ไม่รับทุกข้อ"
-
"โพสต์-บีอาร์เอ็น" กับทางออกดับไฟใต้
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 11 มิถุนายน 2556 เวลา 23:19 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรข้อดีของการเปิดเวทีแบบถี่ยิบของ ศอ.บต.เพื่อรับฟังความคิดเห็นของประชาชนกลุ่มต่างๆ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีต่อการพูดคุยเจรจากับแกนนำขบวนการบีอาร์เอ็น ซึ่งนำโดยกลุ่มของ นายฮัสซัน ตอยิบ ก็คือ ทำให้คณะผู้แทนพูดคุยสันติภาพฝ่ายไทยได้ฟัง "เสียงจริง" ของประชาชนในพื้นที่แท้ๆ โดยไม่ต้องใช้การคาดเดาหรือหลงไปกับข้อเสนอของบางกลุ่มบางพวกที่ตั้งธงเอาไว้ล่วงหน้า
-
"เฉลิม"ส่ง"ดาว์พงษ์"ลงใต้ (ไม่) มีอะไรในกอไผ่
เขียนวันที่วันเสาร์ ที่ 08 มิถุนายน 2556 เวลา 00:05 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรการที่ ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการคณะกรรมการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศปก.กปต.) มอบงานให้ พล.อ.ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ รองผู้บัญชาการทหารบก (รองผบ.ทบ.) ทำหน้าที่ผู้ช่วย ผอ.ศปก.กปต. และมอบอำนาจให้บูรณาการ 6 หน่วยงานลงไปแก้ปัญหาในพื้นที่นั้น
-
โอกาสของสันติภาพ กับโอกาสของการเสียดินแดน
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 04 มิถุนายน 2556 เวลา 08:22 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรวันนี้เริ่มมีเสียงพูดบ้างแล้วจากฝ่ายผู้กุมนโยบายว่าถ้าการเจรจาดับไฟใต้กับ "แกนนำบีอาร์เอ็น" ไปไม่ไหวจริงๆ ก็อาจต้องหยุด หรือเปลี่ยนกลุ่มคุยใหม่
-
จากกรณีจับ "ครูสาวตาดีกา" ถึงคดี "มูฮาหมัดอัณวัร"
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 20 พฤษภาคม 2556 เวลา 21:06 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรผมคิดว่าการที่รัฐไทยเสียเปรียบในบริบทของการพูดคุยเจรจากับกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ นำโดยแกนนำขบวนการบีอาร์เอ็นนั้น นอกจากประเด็นความรุนแรงไม่ลดลง และความไม่พร้อมของฝ่ายรัฐไทยเองแล้ว ยังเป็นผลจากความล้มเหลวเรื่องการบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่ชายแดนใต้อีกด้วย
-
ได้เวลาทบทวนเจรจาโหมไฟใต้
เขียนวันที่วันจันทร์ ที่ 06 พฤษภาคม 2556 เวลา 20:14 น.เขียนโดยAdmin Colorpackไม่มีใครปฏิเสธแนวทางเจรจาหรือพูดคุยสันติภาพเพื่อดับไฟใต้ แต่วิธีการที่รัฐบาลทำอยู่อาจไม่ถูกต้องและส่งผลเสียหายตามมา ด้วยเหตุผลดังนี้
-
นัยแห่งป้ายผ้า...ลึกกว่าค้านเจรจา แต่ถามหาการยอมรับ"ปาตานี"
เขียนวันที่วันอังคาร ที่ 23 เมษายน 2556 เวลา 15:47 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรคนทั่วไปรวมทั้งสื่อสารมวลชน ไม่เว้นแม้แต่ "ศูนย์ข่าวอิศรา" พากันพาดหัวข่าวและพูดถึงป้ายผ้าที่ถูกติดทั่วสามจังหวัดชายแดนภาคใต้กับอีก 2 อำเภอของ จ.สงขลา เมื่อวันที่ 22 เม.ย.ที่ผ่านมา ซึ่งล่าสุดนับได้มากกว่า 119 ผืนตามที่ได้รายงานไปแล้ว โดยตีความและสรุปความว่าเป็น "ป้ายต้านการเจรจา" ซึ่งแน่นอนย่อมหมายถึงกระบวนการ "พูดคุยสันติภาพ" ที่รัฐบาลกำลังดำเนินการอยู่กับกลุ่มที่อ้างตัวเป็นขบวนการบีอาร์เอ็น
-
เลื่อนคุยบีอาร์เอ็น 29 เม.ย. กับความเปราะบางของกระบวนการสันติภาพใต้
เขียนวันที่วันพุธ ที่ 10 เมษายน 2556 เวลา 08:42 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรแม้ พล.ท.ภราดร พัฒนถาบุตร เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ จะยังยืนยันไม่ชัดนักว่านัดหมายพูดคุยอย่างเป็นทางการครั้งที่ 2 กับกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ นำโดย นายฮัสซัน ตอยิบ ที่อ้างตัวว่าเป็นแกนนำขบวนการบีอาร์เอ็น จะเลื่อนออกไปจากวันที่ 29 เม.ย.หรือไม่ แต่ความเป็นไปได้ของการพูดคุยในวันดังกล่าวน่าจะไม่เกิดขึ้นแน่นอนแล้ว
-
ทหารไม่ได้ถูกส่งไปตาย...สันติสุขชายแดนใต้ต้องหยุดทำร้ายทุกกลุ่ม
เขียนวันที่วันศุกร์ ที่ 05 เมษายน 2556 เวลา 13:13 น.เขียนโดยปกรณ์ พึ่งเนตรสถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้นับตั้งแต่ตัวแทนรัฐ (บาล) ไทย นำโดย พล.ท.ภราดร พัฒนถาบุตร เลขาธิการสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) ไปร่วมลงนามในข้อตกลงริเริ่มกระบวนการพูดคุยสันติภาพกับกลุ่มผู้เห็นต่างจากรัฐ นำโดย นายฮัสซัน ตอยิบ ที่อ้างตัวเป็นแกนนำขบวนการบีอาร์เอ็น เมื่อ 28 ก.พ.ที่ผ่านมา และได้พูดคุยอย่างเป็นทางการกันไปรอบหนึ่งแล้วเมื่อ 28 มี.ค.นั้น ชัดเจนว่าไม่ได้ลดระดับความรุนแรงลงเลย